directions_run

มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา:การสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพครูสู่การพัฒนาผู้เรียน จังหวัดสตูล

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนเป้าหมายให้เกิดความเข้มแข็งและพัฒนาท้องถิ่นได้ตรงตามบริบทของชุมชนโดยการพัฒนาคุณภาพครูผู้สอนภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยกระบวนการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) (2) เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการยกระดับผลสัมฤทธิ์ด้านภาษาไทยและภาษาอังกฤษและเน้นคุณลักษณะที่ชุมชนต้องการของโรงเรียนเป้าหมาย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 ประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่อง ศึกษาข้อกำหนดโครงการ นโยบาย หลักการ เป้าหมายสาระสำคัญของโครงการและศึกษารวบรวม จัดทำฐานข้อมูลที่สำคัญและเกี่ยวข้อง (2) กิจกรรมที่ 2 ประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่อง วางแผนการดำเนินงาน/ปรับแผนการดำเนินโครงการ (3) กิจกรรมที่ 3 ประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การสร้างความร่วมมือ และร่วมกำหนดกลไกการดำเนินงานร่วมกับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล (4) กิจกรรมที่ 4 ประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การกำหนดรูปแบบการดำเนิงานการขับเคลื่อนการะบวนการ PLC สู่สถานศึกษา ร่วมกับศึกษานิเทศก์ผู้เชี่ยวชาญวิชาภาษาไทย และภาษาอังกฤษ เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล (5) กิจกรรมที่ 5.1 ประชุมเชิงปฏิบัติdkiระดับ Core Team เพื่อกำหนดกลไกและกิจกรรมการนำกระบวนการ PLC สู่สถานศึกษาตามแผนงานโครงการ (6) กิจกรรมที่ 5.2 ประชุมเชิงปฏิบัติการ Core Team : เตรียมการการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อขับเคลื่อนกระบวนการ PLC สู่สถานศึกษาและชั้นเรียน และตั้งกรรมการ PLC ระดับสถานศึกษา (7) กิจกรรมที่ 6 อบรมเชิงปฏิบัติการ และการสร้างความรู้ ความเข้าใจ การจัดการเรียนรู้โดยกระบวนการ PLC การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (Active Learning) การจัดทำแผนการเรียนรู้สู่สถานศึกษา และการนำแผนการจัดการเรียนรู้สู่ชั้นเรียน (8) กิจกรรมที่ 8 ประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การนำแผนการปฏิบัติการเรียนรู้กระบวนการ PLC สู่สถานศึกษา สู่ชั้นเรียน และการนิเทศ ติดตาม และการประเมินผล และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน (จากการติดตามผลการนิเทศช่วงที่ 1) (9) กิจกรรมที่ 7 ประชุมเชิงปฏิบัติการ Core Team : วางแผน กำหนด การติดตาม ประเมินผล การนิเทศอย่างกัลยาณมิตร และสร้างพลัง แรงจูงใจ สาระวิชาภาษาไทย และภาษาอังกฤษ (10) กิจกรรมที่ 7.1 กิจกรรมการติดตาม ประเมินผล และการนิเทศอย่างกัลยาณมิตร สร้างพลังและแรงจูงใจ (ช่วงที่ 1 จำนวน 5 ครั้ง) (11) กิจกรรมที่ 8.1 กิจกรรมการติดตาม ประเมินผล และการนิเทศอย่างกัลยาณมิตร (12) กิจกรรมที่ 9 ประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การนำกระบวนการ PLC สู่สถานศึกษาและ จัดนิทรรศการทางวิชาการ Mini Show And Share เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และถอดบทเรียนร่วมกัน และมอบเกียรติบัตรยกย่องเชิดชูเกียรติ การขับเคลื่อน PLC สู่สถานศึกษา (13) กิจกรรมที่ 10 ประชุมเชิงปฏิบัติการคณะกรรมการ Core Team เพื่อร่วมสรุปโครงการถอดบทเรียนและจัดทำรายงานเผยแพร่ ในวันที่ 18 ธันวาคม 2562 (14) กิจกรรมที่ 11 ประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การดำเนินงานจัดทำเอกสารรายงานโครงการและสรุปรายงานการวิจัย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ