directions_run

การบริการวิชาการโดยใช้วิจัยเป็นฐาน เรื่อง การสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ครูประถมศึกษา เพื่อการพัฒนาทักษะการจัดการเรียนรู้ภาษาไทย เพื่อการอ่านออกเขียนได้ และการอ่านเชิงวิเคราะห์ โดยใช้บทอ่านหนังสือของพ่อ (พระบาทสมเด็จพระปรมินทรภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 )

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาครูให้มีทักษะการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้ และอ่านเชิงวิเคราะห์ภาษาไทยสำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา (2) เพื่อให้ครูนำนวัตกรรมการเรียนรู้ไปใช้พัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้ และอ่านเชิงวิเคราะห์ภาษาไทย นักเรียนระดับประถมศึกษา โดยใช้กระบวนการ PLC ในการพัฒนา (3) เพื่อสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมให้แก่นักเรียนระดับประถมศึกษา โดยใช้หนังสือคำสอนของพ่อเป็นสื่อในการสร้างเยาวชนที่ดีสู่สังคม (4) เพื่อให้ครูมีเจตคติที่ดีในการพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้ และอ่านเชิงวิเคราะห์ภาษาไทยสำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา (5) เพื่อถ่ายทอดแนวคิดความพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ให้แก่ครูและเยาวชนไทยได้นำมาเป็นแบบอย่างในการดำเนินชีวิตในสังคมที่เปลี่ยนแปลง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) คัดเลือกบทอ่านจากหนังสือคำสอนของพ่อ (2) การชี้แจงทำความเข้าใจกับผู้บริหารสถานศึกษา (3) การประชุมทีมวิทยากรเพื่อเตรียมความพร้อมในการดำเนินโครงการฯ (4) จัดการอบรมการออกแบบการจัดกิจกรรมและสื่อการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้ และอ่านเชิงวิเคราะห์ภาษาไทยสำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา และการวิพากษ์แผนการจัดการเรียนรู้  (โดยใช้กระบวนการ PLC – Plan Do See และ Reflect ทุกขั้นตอน)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ