directions_run

มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา:การสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพครูสู่การพัฒนาผู้เรียน จังหวัดสตูล

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนเป้าหมายให้เกิดความเข้มแข็งและพัฒนาท้องถิ่นได้ตรงตามบริบทของชุมชนโดยการพัฒนาคุณภาพครูผู้สอนภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยกระบวนการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC)
ตัวชี้วัด : **1.เชิงปริมาณ** 1.1 จำนวนโรงเรียนเป้าหมายในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล จำนวน 10 โรงเรียน โดยจำนวนครูที่เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 80 คน 1.2 เครือข่ายความร่วมมือดำเนินการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC สู่การพัฒนาครูเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ต่อผู้เรียนด้านภาษาไทย และภาษาอังกฤษสถานศึกษาเป้าหมาย ตามแนวทางของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกอบด้วยเครือข่ายสถาบันการศึกษา หน่วยงานและองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชน จังหวัดละไม่น้อยกว่า 5 องค์กร 1.3 คณาจารย์ บุคลากรของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา วิทยาลัยชุมชนสตูล ร่วมขับเคลื่อนกระบวนการ PLC สู่การพัฒนาครูเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ต่อผู้เรียนด้านภาษาไทย และภาษาอังกฤษสถานศึกษาเป้าหมาย ตามแนวทางของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน รวมจำนวนไม่น้อยกว่า 20 คน ประกอบด้วย คณาจารย์ จำนวน 15 คน บุคลากร จำนวน 5 คน **2.เชิงคุณภาพ** 2.1 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป 2.2 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ให้เกิดประโยชน์ โดยได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 3.51 คะแนนขึ้นไป **3. เชิงเวลา** 3.1 สามารถจัดโครงการได้ตามระยะเวลาที่กำหนด **4.เชิงต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม** 4.1 จำนวนงบประมาณ/จำนวนกิจกรรม=240,000 บาท/1=240,000 บาท
240000.00

 

 

 

2 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการยกระดับผลสัมฤทธิ์ด้านภาษาไทยและภาษาอังกฤษและเน้นคุณลักษณะที่ชุมชนต้องการของโรงเรียนเป้าหมาย
ตัวชี้วัด :
0.00