มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา:การสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพครูสู่การพัฒนาผู้เรียน จังหวัดสตูล
รายชื่อคณะโรงเรียนศึกษาดูงานที่เข้าร่วมโครงการ มีดังนี้ ๑. คณาจารย์ มหาวิทยาลัยพี่เลี้ยง มหาวิทยาลันราชภัฏสงขลา และวิทยาลัยชุมชน จำนวน 9 คน ๒. ศึกษานิเทศก์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล จำนวน 1 คน ๓. ผู้บริหารและครู โรงเรียนบ้านทุ่งตำเสาฯ จำนวน ๕ คน ๔. ผู้บริหารและครู โรงเรียนบ้านน้ำหรา จำนวน ๕ คน ๕. ผู้บริหารและครู ผู้บริหารและครู โรงเรียนบ้านทุ่งนุ้ย “มิตรภาพที่ ๔๙” จำนวน ๕ คน ๖. ผู้บริหารและครู โรงเรียนบ้านทุ่งเสม็ด จำนวน ๑๐ คน ๗. ผู้บริหารและครู โรงเรียนอนุบาลท่าแพ จำนวน ๖ คน ๘. ผู้บริหารและครู โรงเรียนบ้านสาครเหนือ จำนวน ๕ คน ๙. ผู้บริหารและครู โรงเรียนบ้านกุบังปะโหลด จำนวน ๔ คน ๑๐. ผู้บริหารและครู โรงเรียนบ้านบ่อหิน จำนวน ๑๖ คน ๑๑. ผู้บริหารและครู โรงเรียนบ้านสาคร จำนวน ๑๔ คน
กำหนดการ
โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษา
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาและวิทยาลัยชุมชนสตูลเป็นพี่เลี้ยง :
การสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพครูสู่การพัฒนาผู้เรียน จังหวัดสตูล
ในวันที่ 28 มิถุนายน 2562 เวลา 08.30–16.30 น.
ณ โรงเรียนเทศบาลบ้านบางเหนียว อำเภอเมืองภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต
…………………………………..
ขอบข่ายการดูงาน : ๑. ระบบการบริหารจัดการ PLC .ในสถานศึกษาและชั้นเรียน
๒. เครื่องมือที่เกี่ยวข้อง เช่น Logbook แบบนิเทศติดตาม เป็นต้น
๓. ผลงานที่เกิดจาก PLC เช่น ครู นักเรียน
รูปแบบการดูงาน : ๑. บรรยาย “การขับเคลื่อนกระบวนการ PLC สู่การปฏิบัติในสถานศึกษา
ของโรงเรียนเทศบาลบ้านบางเหนียว อำเภอเมืองภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต
๒. สังเกตการณ์จัดการเรียนการสอนโดยกระบวนการ PLC ในชั้นเรียน
(ระบบ Buddy และ Lesson Study)
๓. ศึกษาเอกสาร/เครื่องมือที่เกี่ยวข้อง เช่น Logbook แบบประเมินการติดตาม
นิเทศ และอื่นๆ
4. แบ่งกลุ่มย่อย ครูพบครู เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ เช่น 1 : 5 หรือ 1 : 10 คน
กำหนดการ : วันที่ ๒๘ มิถุนายน ๒๕๖๒
เวลา ๐๘.๐๐ น. – ๑๒.๐๐ น. ศึกษาดูงาน PLC
ณ โรงเรียนเทศบาลบ้านบางเหนียว อำเภอเมืองภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต
เวลา ๑๒.๐๐ น. พักรับประทานอาหารเที่ยง
ณ โรงเรียนเทศบาลบ้านบางเหนียว อำเภอเมืองภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต
เวลา ๑๓.๓๐ น. (ต่อ) ศึกษาดูงาน
เวลา ๑๕.๐๐ น. ออกเดินทางกลับจังหวัด
จากการประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การนำแผนการปฏิบัติการเรียนรู้กระบวนการ PLC สู่สถานศึกษา สู่ชั้นเรียน และการนิเทศ ติดตาม และการประเมินผล และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน (จากการติดตามผลการนิเทศช่วงที่ 1) ณ โรงเรียนเทศบาลบ้านบางเหนียว อำเภอเมืองภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต เป็นแนวทางหนึ่งในการจัดกระบวนการเรียนการสอนของครูให้มีความน่าสนใจขึ้น เพื่อวิเคราะห์ศักยภาพของผู้เรียนและพัฒนาการเรียนรู้ ซึ่งคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล รวมทั้งนำผลจากพัฒนาการของนักเรียนไปวางแผนและปรับเปลี่ยนการจัดการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาผู้เรียนได้อย่างเต็มศักยภาพ