directions_run

โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถานอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง U_School Mentoring กรณีศึกษา; โรงเรียนหาดปากเมง

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

เครือข่ายอุดมศึกษา


“ โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถานอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง U_School Mentoring กรณีศึกษา; โรงเรียนหาดปากเมง ”

จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นาง จันทรา อุ้ยเอ้ง

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถานอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง U_School Mentoring กรณีศึกษา; โรงเรียนหาดปากเมง

ที่อยู่ จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2562 ถึง 31 สิงหาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถานอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง U_School Mentoring กรณีศึกษา; โรงเรียนหาดปากเมง จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ เครือข่ายอุดมศึกษา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถานอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง U_School Mentoring กรณีศึกษา; โรงเรียนหาดปากเมง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถานอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง U_School Mentoring กรณีศึกษา; โรงเรียนหาดปากเมง " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดตรัง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2562 - 31 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก เครือข่ายอุดมศึกษา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สืบเนื่องจากนโยบายรัฐบาลในปัจจุบัน ได้มุ่งทิศทางในการพัฒนาประเทศชาติเพื่อให้เกิดความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน โดยเฉพาะนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ด้านอุดมศึกษา ที่มุ่งเน้นความสำคัญของการส่งเสริมบทบาทให้สถาบันอุดมศึกษาในพื้นที่ทั่วประเทศทำหน้าที่เป็นพี่เลี้ยงให้แก่สถานศึกษาในท้องถิ่นเพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น ฉะนั้น การจะขับเคลื่อนแนวคิดดังกล่าวเพื่อผลักดัน ส่งเสริม และสนับสนุนให้เกิดผลที่เป็นรูปธรรมจากปัจจุบันสู่อนาคต ทุกภาคส่วนที่มีความเกี่ยวข้องจำเป็นต้องเข้ามามีส่วนร่วมกันอย่างเป็นระบบและเดินหน้าการพัฒนาไปสู่เป้าหมายในการยกระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานของแต่ละท้องถิ่นทั่วประเทศให้เกิดการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพและให้ความสำคัญกับการส่งเสริมการเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและพัฒนาท้องถิ่นโดยมีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง เป็นพี่เลี้ยง เป็นโครงการที่มุ่งเน้นนำนวัตกรรมทางการศึกษา ทรัพยากร ตลอดจนความรู้ความเชี่ยวชาญทางวิชาการของบุคลากร และเทคโนโลยีจากสถาบันอุดมศึกษาไปช่วยพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้กับโรงเรียนที่เปิดสอนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยเน้นการพัฒนาศักยภาพของนักเรียนในกิจกรรมการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับนโยบายด้านการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการที่มุ่งแก้ปัญหาการศึกษาของชาติ รวมทั้งการพัฒนาผู้เรียนให้เกิดทักษะชีวิตและการทำงาน ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม และทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี ซึ่งเป็นทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 โดยใช้รูปแบบกิจกรรม การจัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย อาทิเช่น การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ รูปแบบการจัดการเรียน การสอนสะเต็มในสถานศึกษา การเรียนรู้แบบ Problem-Based Learning (PBL) การจัดการเรียนรู้แบบชุมชนการเรียนรู้ (Professional Learning Communities : PLC) เป็นต้น เพื่อให้ผู้เรียนเกิดองค์ความรู้เกี่ยวกับโลก (Global Awareness) ความรู้เกี่ยวกับการเงิน เศรษฐศาสตร์ ธุรกิจ และการเป็นผู้ประกอบการ (Financial, Economics, Business and Entrepreneurial Literacy) ความรู้ด้านการเป็นพลเมืองที่ดี (Civic Literacy) ความรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) และความรู้ด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Literacy) ซึ่งส่งผลให้ผู้เรียนเติบโตเป็นพลเมืองคุณภาพ และเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศได้ต่อไปในอนาคต โรงเรียนหาดปากเมงตั้งอยู่ใกล้หาดปากเมงบริเวณชายฝั่งชายทะเลอันดามัน มีชื่อเดิมว่าโรงเรียนบ้านหละเริ่มเปิดสอนครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2483 โดยเปิดสอนตั้งแต่ชั้นเตรียมถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนได้พัฒนาก้าวหน้าขึ้นเรื่อยๆตามลำดับทั้งด้านอาคารเรียนครูนักเรียนและการจัดการศึกษาโรงเรียนได้เข้าโครงการขยายโอกาสทางการศึกษาเพื่อเปิดสอนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นในปัจจุบันโรงเรียนหาดปากเมงมีการเปิดสอนตั้งระดับชั้นอนุบาลถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นมีนักเรียนในชั้นระดับประถมศึกษาและระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นจำนวน 306 คน โดยมีบุคลากรจำนวน 22 คน เป็นโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 2 ประสบปัญหาในรายวิชา คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ เนื่องจากทางโรงเรียนมีนักเรียนจำนวนมาก ขาดบุคลากร สื่อและอุปกรณ์การเรียน เพื่อยกระดับมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนหาดปากเมง ทางมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง ได้เล็งเห็นความสำคัญในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและพัฒนาท้องถิ่นได้จัดทำโครงการฯ เพื่อนำองค์ความรู้ ความเชี่ยวชาญของอาจารย์ในมหาวิทยาลัย ช่วยเหลือ ให้คำปรึกษา และถ่ายทอดความรู้ให้กับครูและนักเรียนโรงเรียนหาดปากเมง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มศักยภาพให้แก่ครูผู้สอนให้มีความสามารถเพิ่มสูงขึ้น
  2. เพื่อพัฒนาศักยภาพทางด้านวิชาการให้แก่นักเรียน
  3. เพื่อเพิ่มทักษะทางด้านปฏิบัติให้แก่นักเรียน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. science1
  2. science 2
  3. math 1
  4. math2

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. science1

วันที่ 13 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

เนื้อหา วิทยาศาสตร์ประถมศึกษาตอนปลายเรื่อง แรง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนเข้าใจและสามารถสร้างโครงงาน

 

60 0

2. science 2

วันที่ 14 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

วิทยาศาสตร์ เคมีล่องหน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนเข้าใจและสามารถทำการทดลองได้อย่างถูกต้อง

 

60 0

3. math 1

วันที่ 15 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

สมการในชีวิตประจำวัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สามารถแก้สมการได้และประยุกต์ใช้กับชีวิตประจำวัน

 

60 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มศักยภาพให้แก่ครูผู้สอนให้มีความสามารถเพิ่มสูงขึ้น
ตัวชี้วัด : ครูมีความรู้ทางคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์เพิ่มมากขึ้น
0.00

 

2 เพื่อพัฒนาศักยภาพทางด้านวิชาการให้แก่นักเรียน
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีความรู้ทางคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์เพิ่มมากขึ้น
0.00

 

3 เพื่อเพิ่มทักษะทางด้านปฏิบัติให้แก่นักเรียน
ตัวชี้วัด : นักเรียนนำความรู้ทางคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ที่ได้รับเข้าร่วมแข่งขัน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มศักยภาพให้แก่ครูผู้สอนให้มีความสามารถเพิ่มสูงขึ้น (2) เพื่อพัฒนาศักยภาพทางด้านวิชาการให้แก่นักเรียน (3) เพื่อเพิ่มทักษะทางด้านปฏิบัติให้แก่นักเรียน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) science1 (2) science 2 (3) math 1 (4) math2

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถานอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง U_School Mentoring กรณีศึกษา; โรงเรียนหาดปากเมง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นาง จันทรา อุ้ยเอ้ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด