แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
เครือข่ายอุดมศึกษา
“ โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง ”
จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นาย อัศวยุช เทศอาเส็น
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง
ที่อยู่ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ เครือข่ายอุดมศึกษา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 300,000.00 บาท จาก เครือข่ายอุดมศึกษา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เพื่อมุ่งสู่แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560–2564) ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องต้องเข้ามามีส่วนร่วมอย่างเป็นระบบ โดยเฉพาะภาคอุดมศึกษาซึ่งประสานพลัง ขับเคลื่อนในรูปของเครือข่ายอุดมศึกษาภูมิภาค 9 เครือข่าย โดยมีสถาบันอุดมศึกษาสมาชิกกระจายทั่วทุกภูมิภาคและมีความพร้อมทั้งด้านความรู้และความเชี่ยวชาญทางวิชาการของบุคลากรและเทคโนโลยีที่จะให้บริการทางวิชาการแก่ชุมชนท้องถิ่นได้อย่างเป็นรูปธรรมเพื่อช่วยพัฒนาโรงเรียนให้ผลิตนักเรียนที่มีคุณภาพเข้าสู่ภาคอุดมศึกษาและเป็นทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพสูงในการขับเคลื่อนประเทศไทยไปสู่ Thailand 4.0
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาและวิทยาลัยชุมชนสตูลร่วมดำเนินงานโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น โดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยงในพื้นที่จังหวัดสตูล ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2559 และในปีที่ผ่านมาในปีงบประมาณ 2560 มีการขยายการดำเนินงานโครงการไปยังพื้นที่และโรงเรียนที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ที่แตกต่างกัน 3 กลุ่มโรงเรียน คือ โรงเรียนที่ตั้งอยู่ในพื้นที่การท่องเที่ยว โรงเรียนตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ชนบท และโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนในโครงการพระราชดำริฯ รวม 14 โรงเรียน และในปีงบประมาณ 2561 มีการดำเนินการโดยการนำศาสตร์พระราชสู่การพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น เพื่อพัฒนาการศึกษาและพัฒนาท้องถิ่นให้บรรลุผลตามนโยบายและเป้าหมายแห่งรัฐ อันจะส่งผลให้สามารถยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ตลอดจนศักยภาพของผู้เรียนของโรงเรียนเป้าหมายได้ตามมาตรฐานการศึกษาชาติและสอดคล้องกับนโยบายการพัฒนาการศึกษาและการพัฒนาประเทศ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสนับสนุนให้สถาบันอุดมศึกษาทำหน้าที่เป็น “พี่เลี้ยง” โดยทำงานร่วมกับโรงเรียน ชุมชน และหน่วยงานในพื้นที่ในการนำองค์ความรู้ ความเชี่ยวชาญ และเทคโนโลยีไปช่วยแก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนในท้องถิ่นให้เกิดความเข้มแข็งและพัฒนาท้องถิ่นได้ตรงตามบริบทของชุมชน
- เพื่อให้สถาบันอุดมศึกษามีส่วนร่วมในการส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการยกระดับคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานในภาพรวมของประเทศ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- โครงการย่อยที่ 1 โครงการบริหารจัดการโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น โดยมีสถาบัน อุดมศึกษา : วิทยาลัยชุมชนสตูลและมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาเป็นพี่เลี้ยงจังหวัดสตูล
- โครงการย่อยที่ 2 โครงการบูรณาการความรู้สู่วิชาชีพพัฒนามัคคุเทศก์น้อยของท้องถิ่น กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมค่ายมัคคุเทศก์น้อยของชุมชน ครั้งที่ 1
- โครงการย่อยที่ 4 โครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้อุทยานธรณีโลกสตูลในโรงเรียน กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมประชุมระดมความคิด ตระหนักในหลักการ เป้าหมาย และร่วมบูรณาการ แผนการ ดำเนินงานและกลไก การบริหารจัดการโครงการในโรงเรียนที่จะดำเนินการเกี่ยวกับการพัฒนาแหล่งเรียนรู้อุทยา
- โครงการย่อยที่ 5 โครงการพัฒนาทักษะการใช้ ICT เพื่อการศึกษาของครู กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมประชุม อบรมพัฒนาทักษะการใช้ ICT เพื่อการศึกษา
- กิจกรรมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษผ่านมัคคุเทศก์น้อยของท้องถิ่น
- โครงการย่อยที่ 2 โครงการบูรณาการความรู้สู่วิชาชีพพัฒนามัคคุเทศก์น้อยของท้องถิ่น กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมค่ายมัคคุเทศก์น้อยของชุมชน ครั้งที่ 2
- โครงการย่อยที่ 3 โครงการพัฒนาทักษะด้านอาชีพให้กับนักเรียนในเขตอุทยานธรณีโลกสตูล กิจกรรมที่ 6 กิจกรรมฝึกอบรม หลักสูตรพัฒนาทักษะด้านอาชีพให้กับนักเรียนในเขตอุทยานธรณีโลกสตูล
- โครงการย่อยที่ 3 โครงการพัฒนาทักษะด้านอาชีพให้กับนักเรียนในเขตอุทยานธรณีโลกสตูล กิจกรรมที่ 7 กิจกรรม ติดตาม นิเทศแบบกัลยาณมิตรเพื่อพัฒนาสมรรถนะครูในการพัฒนาทักษะด้านอาชีพให้กับนักเรียนในเขตอุทยานธรณีโลกสตูล
- โครงการย่อยที่ 4 โครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้อุทยานธรณีโลกสตูลในโรงเรียน กิจกรรมที่ 1 การประชุมระดมความคิด ตระหนักในหลักการเป้าหมายและร่วมบูรณาการแผนการดำเนินงานและกลไกการบริหารจัดการโครงการในโรงเรียนที่จะดำเนินการเกี่ยวกับการพัฒนาแหล่งเรียนรู้อุทยานธรณีโล
- โครงการย่อยที่ 3 โครงการพัฒนาทักษะด้านอาชีพให้กับนักเรียนในเขตอุทยานธรณีโลกสตูล กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมประชุมระดมความคิด ตระหนักในหลักการ เป้าหมาย และร่วมบูรณาการ แผนการ ดำเนินงานและกลไก การบริหารจัดการโครงการในโรงเรียนที่จะดำเนินการ
- โครงการย่อยที่ 4 โครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้อุทยานธรณีโลกสตูลในโรงเรียน กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมประชุมระดมความคิด ตระหนักในหลักการ เป้าหมาย และร่วมบูรณาการ แผนการ ดำเนินงานและกลไก การบริหารจัดการโครงการในโรงเรียนที่จะดำเนินการเกี่ยวกับการพัฒนาแหล่งเรียนรู้อุทยา
- โครงการย่อยที่ 2 โครงการบูรณาการความรู้สู่วิชาชีพพัฒนามัคคุเทศก์น้อยของท้องถิ่น กิจกรรมที่ 9 กิจกรรมจัดค่ายฝึกอบรม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
จำนวนครูที่เข้าร่วมโครงการ
50
จำนวนนักเรียนเป้าหมาย
300
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1) เครือข่ายความร่วมมือ ประกอบด้วย เครือข่ายสถาบันอุดมศึกษาภาคใต้ตอนล่างที่รับผิดชอบจังหวัดสตูล : วิทยาลัยชุมชนสตูล องค์กรทั้งภาครัฐ ท้องงถิ่นและเอกชน สามารถร่วมมือพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นได้ตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายของโครงการอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับบริบทและความต้องการของโรงเรียนและชุมชน
2) คณาจารย์ บุคลากรของวิทยาลัยชุมชนสตูลร่วมกับคณะครู นักวิชาการ และนักปฏิบัติการในโรงเรียนและท้องถิ่น เป้าหมาย บูรณาการองค์ความรู้ วิชาการ นวัตกรรมการจัดการศึกษา ทักษะและความเชี่ยวชาญด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนสู่การปฏิบัติจริง เสริมสร้างครูผู้สอนให้มีศักยภาพ รวมทั้งเพิ่มพูนศักยภาพ ประสบการณ์แก่คณาจารย์สถาบันอุดมศึกษาและนักวิชาการในท้องถิ่น ทำให้สามารถร่วมยกระดับคุณภาพการศึกษาได้ตามเป้าหมายและเสริมสร้างความตระหนักในความรับผิดชอบต่อสังคม มีบทบาทในการแก้ไขปัญหาการศึกษา การพัฒนาโรงเรียนและชุมชน
3) ผู้บริหาร คณะครู และโรงเรียนเป้าหมายมีความเข้มแข็งทางวิชาการ มีระบบ กลไก สามารถออกแบบการพัฒนาการจัดการเรียนรู้และฝึกทักษะด้านภาษาอังกฤษ และเรียนรู้และฝึกทักษะพัฒนาอาชีพ ตามมาตรฐานหลักสูตรที่เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพชุมชน
4) ครูผู้สอนที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนานักเรียนด้านภาษาอังกฤษ และด้านทักษะพัฒนาอาชีพ จำนวนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 มีทักษะในการออกแบบการจัดการเรียนรู้และมีพฤติกรรมการจัดการเรียนรู้ผ่านเกณฑ์ในระดับดี (ร้อยละ 70)
5) ผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน และนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการอย่างน้อยร้อยละ 80 มีความพึงพอใจทางบวกต่อการดำเนินโครงการในระดับมาก (3.50) ขึ้นไปจากระดับการประเมิน 5 ระดับ
6) นักเรียนมีผลการเรียนประเมินด้านทักษะภาษาอังกฤษ และด้านทักษะพัฒนาอาชีพ หลังการเข้าร่วมกิจกรรมสูงกว่าก่อนเข้าร่วมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. โครงการย่อยที่ 1 โครงการบริหารจัดการโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น โดยมีสถาบัน อุดมศึกษา : วิทยาลัยชุมชนสตูลและมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาเป็นพี่เลี้ยงจังหวัดสตูล
วันที่ 10 พฤษภาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
กำหนดการ
โครงการย่อยที่ 1 โครงการบริหารจัดการโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น โดยมีสถาบันอุดมศึกษา : วิทยาลัยชุมชนสตูลและมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาเป็นพี่เลี้ยงจังหวัดสตูล
กิจกรรมที่ 3 ประชุมเสริมสร้างความเข้าใจ ตระหนักในหลักการและเป้าหมายร่วมกัน รวมพลังสร้างความเข้มแข็งแก่โรงเรียนเป้าหมาย
ในวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2562
ณ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
เวลา 08.30 – 09.30 น. ลงทะเบียน
เวลา 09.30 – 10.00 น. พิธีเปิด
เวลา 10.00 – 12.00 น. ผลการดำเนินงานโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น
โดยสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยงที่ผ่านมา
โดยวิทยากร นายอัศวยุช เทศอาเส็น ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะ
เวลา 12.00 – 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
เวลา 13.00 – 16.00 น. แผนการดำเนินงานโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น
โดยสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง ประจำปีงบประมาณ 2562
โดยวิทยากร นายอัศวยุช เทศอาเส็น ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะ
หมายเหตุ พักรับประทานอาหารว่าง เวลา 10.30 – 10.45 น. และ เวลา 14.30 – 14.45 น.
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
วิทยาลัชุมชนสตูลร่วมกับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล และภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง โดย ดร.วรรณดี สุธาพาณิชย์ ผู้อำนวยการวิทยาลัยชุมชนสตูล เป็นประธานที่ประชุมพร้อมด้วยรองผู้อำนวยการ และบุคลากร เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยสถาบันอุดมศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล และมหาลัยราชภัฏสงขลาเป็นพี่เลี้ยง : จังหวัดสตูล ในวันที่ 10 พฤษภาคม 2562 ณ ห้องประชุม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอำเภอเมืองสตูล อ.เมืองสตูล จ.สตูล โดยเป็นการประชุมครั้งแรกเพื่อสร้างความเข้าใจในการดำเนินโครงการกับโรงเรียนกลุ่มเป้าหมายที่อยู่ห่างไกลและโรงเรียนตามเกาะต่างๆ ของจังหวัดสตูล จำนวน 11 โรงเรียน โดยได้รับเกียรติจาก นายกอเฉ็ม หมีนเหม รองผู้อำนวยการ สพป.สตูล กล่าวต้อนรับผู้เข้าร่วมประชุม
การดำเนินโครงการย่อยที่ 1 โครงการบริหารจัดการโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น โดยมีสถาบันอุดมศึกษา : วิทยาลัยชุมชนสตูลและมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาเป็นพี่เลี้ยงจังหวัดสตูล กิจกรรมที่ 3 ประชุมเสริมสร้างความเข้าใจ ตระหนักในหลักการและเป้าหมายร่วมกัน รวมพลังสร้างความเข้มแข็งแก่โรงเรียนเป้าหมายโดยเบิกจ่ายจากโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 เป็นเงินทั้งสิ้น จำนวน 14,240 บาท
33
0
2. โครงการย่อยที่ 2 โครงการบูรณาการความรู้สู่วิชาชีพพัฒนามัคคุเทศก์น้อยของท้องถิ่น กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมค่ายมัคคุเทศก์น้อยของชุมชน ครั้งที่ 1
วันที่ 24 พฤษภาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
กำหนดการ
กิจกรรมการพัฒนาหลักสูตรมัคคุเทศก์น้อยของท้องถิ่น
โครงการย่อยที่ 2 โครงการบูรณาการความรู้สู่วิชาชีพพัฒนามัคคุเทศก์น้อยของท้องถิ่น
กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมค่ายมัคคุเทศก์น้อยของชุมชน
โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น โดยสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง
ในวันศุกร์ ที่ 24 พฤษภาคม 2562 เวลา 13.30 - 17.00 น.
ณ โรงเรียนอนุบาลเมืองสตูล อ.เมืองสตูล จ.สตูล
เวลา 13.00 – 13.30 น. ลงทะเบียน
เวลา 13.30 – 14.00 น. พิธีเปิด และแนะนำกิจกรรมการพัฒนาหลักสูตรมัคคุเทศก์น้อยของท้องถิ่น โครงการย่อยที่ 2 โครงการบูรณาการความรู้สู่วิชาชีพพัฒนามัคคุเทศก์น้อยของ ท้องถิ่น
เวลา 14.00 – 17.00 น. ร่วมกันพัฒนาหลักสูตรมัคคุเทศก์น้อยของท้องถิ่น
โดยวิทยากร นายอัศวยุช เทศอาเส็น ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะ
หมายเหตุ กำหนดการอาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- วิทยาลัยชุมชนสตูลร่วมกับสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดสตูล และภาคีเครือข่ายต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง โดย ดร.วรรณดี สุธาพาณิชย์ ผู้อำนวยการวิทยาลัยชุมชนสตูล ได้มอบหมายให้นายอัศวยุช เทศอาเส็น รองผู้อำนวยการวิทยาลัยชุมชนสตูล และคณะประกอบด้วยอาจารย์นิสริน ล่านุ้ย อาจารย์ภูญดา เพชรรัตน์ และอาจารย์เบญจวรรณ แก้วสวัสดิ์ ได้ดำเนินโครงการย่อยที่ 2 โครงการบูรณาการความรู้สู่วิชาชีพพัฒนามัคคุเทศก์น้อยของท้องถิ่น กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมค่ายมัคคุเทศก์น้อยของชุมชน ในวันศุกร์ ที่ 24 พฤษภาคม 2562 เวลา 13.30 - 17.00 น. ณ โรงเรียนอนุบาลเมืองสตูล อ.เมืองสตูล จ.สตูล โดยมีผู้เข้าร่วมทั้งสิ้น 15 คน จำนวน 4 โรงเรียน คือ ผู้ประสานโครงการฯ โรงเรียนอนุบาลเมืองสตูล, ผู้ประสานโครงการฯ โรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๔๐ (บ้านควนโพธิ์), ผู้ประสานโครงการฯ โรงเรียนบ้านใหม่ และผู้ประสานโครงการฯ โรงเรียนบ้านทุ่งวิมาน
- การดำเนินโครงการย่อยที่ 2 โครงการบูรณาการความรู้สู่วิชาชีพพัฒนามัคคุเทศก์น้อยของท้องถิ่น กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมค่ายมัคคุเทศก์น้อยของชุมชน โดยเบิกจ่ายจากโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 เป็นเงินทั้งสิ้น จำนวน 6,510 บาท
15
0
3. โครงการย่อยที่ 4 โครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้อุทยานธรณีโลกสตูลในโรงเรียน กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมประชุมระดมความคิด ตระหนักในหลักการ เป้าหมาย และร่วมบูรณาการ แผนการ ดำเนินงานและกลไก การบริหารจัดการโครงการในโรงเรียนที่จะดำเนินการเกี่ยวกับการพัฒนาแหล่งเรียนรู้อุทยา
วันที่ 28 พฤษภาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
วิทยาลัยชุมชนสตูลเดินหน้าลุยโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง
ในวันที่ 28 พฤษภาคม 2562 โดย ดร.วรรณดี สุธาพาณิชย์ ผู้อำนวยการวิทยาลัยชุมชนสตูล ได้มอบหมายให้ ดร.มาณี ฉัตรชัยวงศ์ รองผู้อำนวยการวิทยาลัยชุมชนสตูล และคณะ ลงพื้นที่เพื่อดำเนินโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
โครงการย่อยที่ 4 กิจกรรมย่อย 4.1 โครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้อุทยานธรณีโลกสตูลในโรงเรียน ดำเนินการจัดประชุมระดมความคิด ตระหนักในหลักการเป้าหมาย และร่วมบูรณาการแผนการดำเนินงานและกลไกการบริหารจัดการโครงการในโรงเรียนที่จะดำเนินการเกี่ยวกับการพัฒนาแหล่งเรียนรู้อุทยานธรณีโลกสตูลในโรงเรียน ณ โรงเรียนบ้านทุ่งวิมาน อ.เมืองสตูล จ.สตูล โดยมีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการจำนวน 4 โรงเรียน สร้างความพึงพอใจให้ผู้บริหารและครูผู้รับผิดชอบเป็นอย่างมาก
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
วิทยาลัยชุมชนสตูลร่วมกับโรงเรียนกลุ่ม พญาบังสา โดย ดร.วรรณดี สุธาพาณิชย์ ผู้อำนวยการวิทยาลัยชุมชนสตูล ได้มอบหมายให้ ดร.มาณี ฉัตรชัยวงศ์ รองผู้อำนวยการวิทยาลัยชุมชนสตูล และคณะ จัดโครงการย่อยที่ 4 โครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้อุทยานธรณีโลกสตูลในโรงเรียน กิจกรรมที่ 1 การประชุมระดมความคิด ตระหนักในหลักการเป้าหมายและร่วมบูรณาการแผนการดำเนินงานและกลไกการบริหารจัดการโครงการในโรงเรียนที่จะดำเนินการเกี่ยวกับการพัฒนาแหล่งเรียนรู้อุทยานธรณีโลกสตูลในโรงเรียน (กลุ่ม 1 กลุ่มพญาบังสา) ในวันที่ 28 พฤษภาคม 2562 เวลา 13.30 – 17.00 น. ณ โรงเรียนบ้านทุ่งวิมาน อำเภอเมือง จังหวัดสตูล โดยผู้เข้าร่วม จำนวน 4 โรงเรียน คือ ครูโรงเรียนอนุบาลเมืองสตูล, ครูโรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๔๐ (บ้านควนโพธิ์), ครูโรงเรียนบ้านใหม่, ครูโรงเรียนบ้านทุ่งวิมาน, มีผู้เข้าร่วมจำนวนทั้งสิ้น 10 คน โดยมีหัวข้อดังนี้
1.การเก็บข้อมูลด้านแหล่งเรียนรู้
- แหล่งเรียนรู้ภายใน
- แหล่งเรียนรู้ภายนอก
- สถานที่ตั้ง
- แผนที่เดินดิน
- ประวัติความเป็นมาเรื่องเล่า
- การใช้สอย/การใช้ประโยชน์
- การมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแล
- ภูมิปัญญา/ปราชญ์ชาวบ้าน
- อื่นๆ
เบื้องต้นได้มีการระดมความคิด แลกเปลี่ยนความรู้ เรื่องแหล่งเรียนรู้ภายในและภายนอกสถานศึกษา จากนั้นทำการคัดแยกประเภทออกเป็นบุคคล สถานที่ จากนั้นได้มอบหมายให้ทุกโรงเรียนดำเนินการจัดกลุ่มนักเรียนเพื่อทำการลงพื้นที่สำรวจร่วมกับครูและบุคคลในชุมชน สำรวจแหล่งเรียนรู้รอบโรงเรียน และรวบรวมข้อมูลตามหัวข้อต่างๆ ระหว่างวันที่ 25 มิ.ย. – 30 ก.ค. 2562
2. รูปแบบการจัดทำเอกสารแหล่งเรียนรู้
- ไวนิลแผนที่แหล่งเรียนรู้รอบโรงเรียน โดยจัดเป็นมุมความรู้ไว้ในห้องสมุดของทุกโรงเรียน
3. ปฏิทินการดำเนินการ
- กำหนดช่วงเวลามอบหมายงานให้นักเรียนสรุปผลข้อมูลจากการลงพื้นที่สำรวจให้อยู่ในรูปแบบของแผนที่เดินดิน ช่วงเวลาดำเนินการระหว่างวันที่ 26 มิ.ย. – 25 ส.ค. 2562
- กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของแต่ละสถานศึกษาโดยนักเรียน วันที่ 29 ส.ค. 2562 ประกอบด้วย กลุ่มพญาบังสา, กลุ่มชายแดน, กลุ่มทะเล และคณะครู วชช.สตูล
4. กำหนดการนิเทศติดตาม
- ระหว่างวันที่ 1 ก.ค. – 28 ส.ค. 2562 ดำเนินการโดย วชช.สตูล ติดตามความคืบหน้าลงพื้นที่ไปในแต่ละโรงเรียน เพื่อสอบถามความต้องการและปัญหา อุปสรรคระหว่างการดำเนินการ
ค่าใช้จ่ายในการดำเนินโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 โครงการย่อยที่ 4 โครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้อุทยานธรณีโลกสตูลในโรงเรียนกิจกรรมที่ 1 การประชุมระดมความคิด ตระหนักในหลักการเป้าหมายและร่วมบูรณาการแผนการดำเนินงานและกลไกการบริหารจัดการโครงการในโรงเรียนที่จะดำเนินการเกี่ยวกับการพัฒนาแหล่งเรียนรู้อุทยานธรณีโลกสตูลในโรงเรียน (กลุ่ม 1 ) จำนวนเงินทั้งสิ้น 9,460 บาท
10
0
4. โครงการย่อยที่ 3 โครงการพัฒนาทักษะด้านอาชีพให้กับนักเรียนในเขตอุทยานธรณีโลกสตูล กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมประชุมระดมความคิด ตระหนักในหลักการ เป้าหมาย และร่วมบูรณาการ แผนการ ดำเนินงานและกลไก การบริหารจัดการโครงการในโรงเรียนที่จะดำเนินการ
วันที่ 31 พฤษภาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
วิทยาลัยชุมชนสตูลจัดโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง โครงการย่อยที่ 3 โครงการพัฒนาทักษะด้านอาชีพให้กับนักเรียนในเขตอุทยานธรณีโลกสตูล
วิทยาลัยชุมชนสตูลร่วมกับครูแกนนำโรงเรียนเข้าร่วมประชุมโดย ดร.วรรณดี สุธาพาณิชย์ ผู้อำนวยการวิทยาลัยชุมชนสตูล เป็นประธานในพิธีเปิดโครงการย่อยที่ 3 โครงการพัฒนาทักษะด้านอาชีพให้กับนักเรียนในเขตอุทยานธรณีโลกสตูล กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมประชุมระดมความคิด ตระหนักในหลักการ เป้าหมาย และร่วมบูรณาการ แผนการ ดำเนินงานและกลไก การบริหารจัดการโครงการในโรงเรียนที่จะดำเนินการ ในวันที่ 31 พฤษภาคม 2562 เวลา 08.30 – 16.30 น. ณ ห้องประชุมกาหลง วิทยาลัยชุมชนสตูล ต.เกตรี อ.เมืองสตูล จ.สตูล โดยมีครูแกนนำเข้าร่วม จำนวน 11 โรงเรียน คือ ครูโรงเรียนอนุบาลเมืองสตูล, ครูโรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๔๐ (บ้านควนโพธิ์), ครูโรงเรียนบ้านใหม่, ครูโรงเรียนบ้านทุ่งวิมาน, ครูโรงเรียนบ้านเกาะสาหร่ายชัยพัฒนา, ครูโรงเรียนบ้านตันหยงอุมาชัยพัฒนา, ครูโรงเรียนบ้านเกาะยะระโตดนุ้ย, ครูโรงเรียนบ้านควนสตอ, ครูโรงเรียนบ้านทุ่งมะปรัง, ครูโรงเรียนบ้านวังประจัน และครูโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 42 จังหวัดสตูล มีผู้เข้าร่วมจำนวนทั้งสิ้น 45 คน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ซึ่งได้ระดมความคิดและนำเสนอหลักสูตรฝึกอบรมให้ตรงตามความต้องการของแต่ละโรงเรียน ซึ่งสรุปได้ดังนี้
1.หลักสูตรขนมผูกรัก คือ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 42 จังหวัดสตูล
2.หลักสูตรขนมพื้นบ้าน คือ โรงเรียนบ้านทุ่งวิมาน , โรงเรียนบ้านตันหยงอุมาชัยพัฒนา , โรงเรียนบ้านใหม่
3.หลักสูตรการทำพวงกุญแจยาง คือ โรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๔๐ (บ้านควนโพธิ์)
4.หลักสูตรขนมลุกชุบ คือ โรงเรียนบ้านวังประจัน
5.หลักสูตรผัดไทยชาวเกาะ คือ โรงเรียนบ้านเกาะยะระโตดนุ้ย
6.หลักสูตรการทำน้ำพริกไตปลาแห้ง คือ โรงเรียนบ้านเกาะสาหร่ายชัยพัฒนา
7.หลักสูตรเบเกอรี่ คือ โรงเรียนอนุบาลเมืองสตูล , โรงเรียนบ้านควนสตอ ,โรงเรียนบ้านทุ่งมะปรัง
ใช้งบประมาณไปทั้งสิ้น 13,800 บาท
22
0
5. โครงการย่อยที่ 4 โครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้อุทยานธรณีโลกสตูลในโรงเรียน กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมประชุมระดมความคิด ตระหนักในหลักการ เป้าหมาย และร่วมบูรณาการ แผนการ ดำเนินงานและกลไก การบริหารจัดการโครงการในโรงเรียนที่จะดำเนินการเกี่ยวกับการพัฒนาแหล่งเรียนรู้อุทยา
วันที่ 11 มิถุนายน 2562กิจกรรมที่ทำ
วิทยาลัยชุมชนสตูลส่งเสริมแหล่งเรียนรู้อุทยานธรณีโลกสตูลในโรงเรียน
ในวันที่ 11 มิถุนายน 2562 โดย ดร.วรรณดี สุธาพาณิชย์ ผู้อำนวยการวิทยาลัยชุมชนสตูล ได้มอบหมายให้ ดร.มาณี ฉัตรชัยวงศ์ รองผู้อำนวยการและคณะ ดำเนินโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
โครงการย่อยที่ 4 กิจกรรมย่อย 4.1 โครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้อุทยานธรณีโลกสตูลในโรงเรียน ดำเนินการจัดประชุมระดมความคิด ตระหนักในหลักการเป้าหมายและร่วมบูรณาการแผนการดำเนินงานและกลไกการบริหารจัดการโครงการในโรงเรียนที่จะดำเนินการเกี่ยวกับการพัฒนาแหล่งเรียนรู้อุทยานธรณีโลกสตูลในโรงเรียน (กลุ่มชายแดน) จำนวน 4 โรงเรียน ณ โรงเรียนบ้านทุ่งมะปรัง อำเภอควนโดน เพื่อที่จะเป็นแหล่งศึกษาหาความรู้ของนักเรียนต่อไป
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
วิทยาลัยชุมชนสตูลร่วมกับโรงเรียนกลุ่ม พญาบังสา โดย ดร.วรรณดี สุธาพาณิชย์ ผู้อำนวยการวิทยาลัยชุมชนสตูล ได้มอบหมายให้ ดร.มาณี ฉัตรชัยวงศ์ รองผู้อำนวยการและคณะ ดำเนินโครงการย่อยที่ 4 โครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้อุทยานธรณีโลกสตูลในโรงเรียน กิจกรรมที่ 1 การประชุมระดมความคิด ตระหนักในหลักการเป้าหมายและร่วมบูรณาการแผนการดำเนินงานและกลไกการบริหารจัดการโครงการในโรงเรียนที่จะดำเนินการเกี่ยวกับการพัฒนาแหล่งเรียนรู้อุทยานธรณีโลกสตูลในโรงเรียน (กลุ่ม 2 กลุ่มชายแดน) ในวันที่ 11 มิถุนายน 2562 เวลา 08.30 - 16.30 น. ณ โรงเรียนบ้านทุ่งมะปรัง อ.ควนโดน จ.สตูล โดยผู้เข้าร่วม จำนวน 3 โรงเรียน คือ ครูโรงเรียนบ้านวังประจัน, ครูโรงเรียนบ้านควนสตอ, ครูโรงเรียนบ้านทุ่งมะปรัง,ครูโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๔๒ จังหวัดสตูล มีผู้เข้าร่วมจำนวนทั้งสิ้น 12 คน โดยมีหัวข้อดังนี้
1.การเก็บข้อมูลด้านแหล่งเรียนรู้
- แหล่งเรียนรู้ภายใน
- แหล่งเรียนรู้ภายนอก
- สถานที่ตั้ง
- แผนที่เดินดิน
- ประวัติความเป็นมาเรื่องเล่า
- การใช้สอย/การใช้ประโยชน์
- การมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแล
- ภูมิปัญญา/ปราชญ์ชาวบ้าน
- อื่นๆ
เบื้องต้นได้มีการระดมความคิด แลกเปลี่ยนความรู้ เรื่องแหล่งเรียนรู้ภายในและภายนอกสถานศึกษา จากนั้นทำการคัดแยกประเภทออกเป็นบุคคล สถานที่ จากนั้นได้มอบหมายให้ทุกโรงเรียนดำเนินการจัดกลุ่มนักเรียนเพื่อทำการลงพื้นที่สำรวจร่วมกับครูและบุคคลในชุมชน สำรวจแหล่งเรียนรู้รอบโรงเรียน และรวบรวมข้อมูลตามหัวข้อต่างๆ ระหว่างวันที่ 25 มิ.ย. – 30 ก.ค. 2562
2. รูปแบบการจัดทำเอกสารแหล่งเรียนรู้
- ไวนิลแผนที่แหล่งเรียนรู้รอบโรงเรียน โดยจัดเป็นมุมความรู้ไว้ในห้องสมุดของทุกโรงเรียน
3. ปฏิทินการดำเนินการ
- กำหนดช่วงเวลามอบหมายงานให้นักเรียนสรุปผลข้อมูลจากการลงพื้นที่สำรวจให้อยู่ในรูปแบบของแผนที่เดินดิน ช่วงเวลาดำเนินการระหว่างวันที่ 26 มิ.ย. – 25 ส.ค. 2562
- กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของแต่ละสถานศึกษาโดยนักเรียน วันที่ 29 ส.ค. 2562 ประกอบด้วย กลุ่มพญาบังสา, กลุ่มชายแดน, กลุ่มทะเล และคณะครู วชช.สตูล
4. กำหนดการนิเทศติดตาม
- ระหว่างวันที่ 1 ก.ค. – 28 ส.ค. 2562 ดำเนินการโดย วชช.สตูล ติดตามความคืบหน้าลงพื้นที่ไปในแต่ละโรงเรียน เพื่อสอบถามความต้องการและปัญหา อุปสรรคระหว่างการดำเนินการ
ค่าใช้จ่ายในการดำเนินโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 โครงการย่อยที่ 4 โครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้อุทยานธรณีโลกสตูลในโรงเรียนกิจกรรมที่ 1 การประชุมระดมความคิด ตระหนักในหลักการเป้าหมายและร่วมบูรณาการแผนการดำเนินงานและกลไกการบริหารจัดการโครงการในโรงเรียนที่จะดำเนินการเกี่ยวกับการพัฒนาแหล่งเรียนรู้อุทยานธรณีโลกสตูลในโรงเรียน (กลุ่ม 2 ) จำนวนเงินทั้งสิ้น 7,870 บาท
10
0
6. โครงการย่อยที่ 5 โครงการพัฒนาทักษะการใช้ ICT เพื่อการศึกษาของครู กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมประชุม อบรมพัฒนาทักษะการใช้ ICT เพื่อการศึกษา
วันที่ 14 มิถุนายน 2562กิจกรรมที่ทำ
กำหนดการอบรม
โครงการย่อยที่ 5 โครงการพัฒนาทักษะการใช้ ICT เพื่อการศึกษาของครู
โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น โดยสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง
ในระหว่างวันที่ 14 – 15 มิถุนายน 2562 เวลา 09.00 น. - 16.00 น.
ณ วิทยาลัยชุมชนสตูล ต.เกตรี อ.เมืองสตูล จ.สตูล
วันที่ 14 มิถุนายน 2562
เวลา 08.00 – 08.30 น. ลงทะเบียน
เวลา 08.30 – 09.00 น. พิธีเปิด และบรรยายพิเศษ
เวลา 09.00 – 12.00 น. ฝึกอบรมหัวข้อ การประยุกต์ใช้สื่อ ICT เพื่อการเรียนรู้
แบ่งเป็น 2 กลุ่ม
โดย นายเชษฐา เถาวัลย์ ศึกษานิเทศก์ สพป.สตูล,
นางสาวฐรินดา สังยาหยา ครู โรงเรียนพิมานพิทยาสรรค์ และคณะ
เวลา 12.00 – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน
เวลา 13.00 – 16.00 น. ฝึกอบรมหัวข้อ การใช้ Google Classroom เพื่อการจัดการชั้นเรียน
แบ่งเป็น 2 กลุ่ม
โดย นายเชษฐา เถาวัลย์ ศึกษานิเทศก์ สพป.สตูล,
นางสาวฐรินดา สังยาหยา ครู โรงเรียนพิมานพิทยาสรรค์ และคณะ
วันที่ 15 มิถุนายน 2562
เวลา 09.00 – 12.00 น. ฝึกอบรมหัวข้อ การใช้ Google Classroom เพื่อการจัดการชั้นเรียน (ต่อ)
แบ่งเป็น 2 กลุ่ม
โดย นายเชษฐา เถาวัลย์ ศึกษานิเทศก์ สพป.สตูล,
นางสาวฐรินดา สังยาหยา ครู โรงเรียนพิมานพิทยาสรรค์ และคณะ
เวลา 12.00 – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน
เวลา 13.00 – 16.00 น. ฝึกอบรมหัวข้อ การใช้งาน ICT เพื่อส่งเสริมอาชีพให้นักเรียน
แบ่งเป็น 2 กลุ่ม
โดย นายเชษฐา เถาวัลย์ ศึกษานิเทศก์ สพป.สตูล,
นางสาวฐรินดา สังยาหยา ครู โรงเรียนพิมานพิทยาสรรค์ และคณะ
เวลา 16.00 – 16.30 น. สรุปผลการฝึกอบรม และปิดการฝึกอบรม
หมายเหตุ
- กำหนดการเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม
- พักรับประทานอาหารว่างเวลา 10.30 – 10.45 น. และ 14.30 – 14.45 น.
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
วิทยาลัยชุมชนสตูลร่วมกับสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดสตูล และภาคีเครือข่ายต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง โดย ดร.วรรณดี สุธาพาณิชย์ ผู้อำนวยการวิทยาลัยชุมชนสตูล เป็นประธานที่ประชุมพร้อมด้วยรองผู้อำนวยการ และบุคลากร ได้กำหนดจัดโครงการย่อยที่ 5 โครงการพัฒนาทักษะการใช้ ICT เพื่อการศึกษาของครู กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมประชุม อบรมพัฒนาทักษะการใช้ ICT เพื่อการศึกษา ในระหว่างวันที่ 14 – 15 มิถุนายน 2562 เวลา 09.00 น. - 16.00 น. ณ วิทยาลัยชุมชนสตูล ต.เกตรี อ.เมืองสตูล จ.สตูล โดยผู้เข้าร่วม จำนวน 11 โรงเรียน คือ ครูโรงเรียนอนุบาลเมืองสตูล, ครูโรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๔๐ (บ้านควนโพธิ์), ครูโรงเรียนบ้านใหม่, ครูโรงเรียนบ้านทุ่งวิมาน, ครูโรงเรียนบ้านเกาะสาหร่ายชัยพัฒนา, ครูโรงเรียนบ้านตันหยงอุมาชัยพัฒนา, ครูโรงเรียนบ้านเกาะยะระโตดนุ้ย, ครูโรงเรียนบ้านควนสตอ, ครูโรงเรียนบ้านทุ่งมะปรัง, ครูโรงเรียนบ้านวังประจัน และครูโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 42 จังหวัดสตูล มีผู้เข้าร่วมจำนวนทั้งสิ้น 50 คน โดยมีหัวข้อดังนี้
- การประยุกต์ใช้สื่อ ICT เพื่อการเรียนรู้
- การใช้ Google Classroom เพื่อการจัดการชั้นเรียน
- การใช้งาน ICT เพื่อส่งเสริมอาชีพให้นักเรียน
- การดำเนินโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 เป็นเงินทั้งสิ้น 33,000 บาท
50
0
7. กิจกรรมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษผ่านมัคคุเทศก์น้อยของท้องถิ่น
วันที่ 14 มิถุนายน 2562กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
วิทยาลัยชุมชนสตูลจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษผ่านมัคคุเทศก์น้อยของท้องถิ่น ภายใต้โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น โดยสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง
ในวันที่ 14 มิถุนายน 2562 โดย ดร.วรรณดี สุธาพาณิชย์ ผู้อำนวยการวิทยาลัยชุมชนสตูล ได้มอบหมายให้ นายอัศวยุช เทศอาเส็น รองผู้อำนวยการวิทยาลัยชุมชนสตูล จัดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษผ่านมัคคุเทศก์น้อยของท้องถิ่น ภายใต้โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น โดยสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง ณ โรงเรียนบ้านทุ่งวิมาน อ.เมืองสตูล จ.สตูล โดยมีนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 30 คน สามารถสร้างความสนุกสนานและได้รับความรู้จากกิจกรรมดังกล่าวเป็นอย่างมาก
0
0
8. โครงการย่อยที่ 2 โครงการบูรณาการความรู้สู่วิชาชีพพัฒนามัคคุเทศก์น้อยของท้องถิ่น กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมค่ายมัคคุเทศก์น้อยของชุมชน ครั้งที่ 2
วันที่ 18 มิถุนายน 2562กิจกรรมที่ทำ
กำหนดการ
กิจกรรมการพัฒนาหลักสูตรมัคคุเทศก์น้อยของท้องถิ่น
โครงการย่อยที่ 2 โครงการบูรณาการความรู้สู่วิชาชีพพัฒนามัคคุเทศก์น้อยของท้องถิ่น
กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมค่ายมัคคุเทศก์น้อยของชุมชน ครั้งที่ 2
โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น โดยสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง
ในวันอังคาร ที่ 18 มิถุนายน 2562 เวลา 09.00 - 16.00 น.
ณ วิทยาลัยชุมชนสตูล ต.เกตรี อ.เมืองสตูล จ.สตูล
เวลา 08.30 – 09.00 น. ลงทะเบียน
เวลา 09.00 – 09.30 น. พิธีเปิด และบรรยายพิเศษ โดย ดร.วรรณดี สุธาพาณิชย์ ผู้อำนวยการวิทยาลัยชุมชนสตูล
เวลา 09.30 – 10.00 น. แนะนำกิจกรรมการพัฒนาหลักสูตรมัคคุเทศก์น้อยของท้องถิ่น โครงการย่อยที่ 2 โครงการบูรณาการความรู้สู่วิชาชีพพัฒนามัคคุเทศก์น้อย ของท้องถิ่น โดยวิทยากร นายอัศวยุช เทศอาเส็น ผู้รับผิดชอบโครงการ
เวลา 10.00 – 12.00 น. ร่วมกันพัฒนาหลักสูตร “มัคคุเทศก์น้อยของท้องถิ่น” โดยวิทยากร นายอัศวยุช เทศอาเส็น ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะ
เวลา 12.00 – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน
เวลา 13.00 – 16.00 น. ร่วมกันพัฒนาหลักสูตร “การจัดค่ายภาษาอังกฤษสำหรับมัคคุเทศก์น้อย” โดยวิทยากร นายอัศวยุช เทศอาเส็น ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะ
หมายเหตุ
- กำหนดการเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม
- พักรับประทานอาหารว่างเวลา 10.30 – 10.45 น. และ 14.30 – 14.45 น.
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
วิทยาลัยชุมชนสตูลร่วมกับสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดสตูล และภาคีเครือข่ายต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง โดย ดร.วรรณดี สุธาพาณิชย์ ผู้อำนวยการวิทยาลัยชุมชนสตูล มอบหมายให้นายอัศวยุช เทศอาเส็น รองผู้อำนวยการวิทยาลัยชุมชนสตูลดำเนินโครงการย่อยที่ 2 โครงการบูรณาการความรู้สู่วิชาชีพพัฒนามัคคุเทศก์น้อยของท้องถิ่น กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมค่ายมัคคุเทศก์น้อยของชุมชน ครั้งที่ 2 ในวันอังคาร ที่ 18 มิถุนายน 2562 เวลา 09.00 - 16.00 น. ณ วิทยาลัยชุมชนสตูล ต.เกตรี อ.เมืองสตูล จ.สตูล โดยมีผู้เข้าร่วมทั้งสิ้น 15 คน จำนวน 7 โรงเรียน คือ ผู้ประสานโครงการฯ โรงเรียนบ้านเกาะสาหร่ายชัยพัฒนา, ผู้ประสานโครงการฯ โรงเรียนบ้านตันหยงอุมาชัยพัฒนา, ผู้ประสานโครงการฯ โรงเรียนบ้านเกาะยะระโตดนุ้ย, ผู้ประสานโครงการฯ โรงเรียนบ้านควนสตอ, ผู้ประสานโครงการฯ โรงเรียนบ้านทุ่งมะปรัง, ผู้ประสานโครงการฯ โรงเรียนบ้านวังประจัน และผู้ประสานโครงการฯ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 42 จังหวัดสตูล
การดำเนินโครงการย่อยที่ 2 โครงการบูรณาการความรู้สู่วิชาชีพพัฒนามัคคุเทศก์น้อยของท้องถิ่น กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมค่ายมัคคุเทศก์น้อยของชุมชน ครั้งที่ 2 โดยเบิกจ่ายจากโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 เป็นเงินทั้งสิ้น จำนวน 4,300 บาท
15
0
9. โครงการย่อยที่ 3 โครงการพัฒนาทักษะด้านอาชีพให้กับนักเรียนในเขตอุทยานธรณีโลกสตูล กิจกรรมที่ 6 กิจกรรมฝึกอบรม หลักสูตรพัฒนาทักษะด้านอาชีพให้กับนักเรียนในเขตอุทยานธรณีโลกสตูล
วันที่ 21 มิถุนายน 2562กิจกรรมที่ทำ
วิทยาลัยชุมชนสตูลร่วมกับครูแกนนำโรงเรียนจัดฝึกอบรม โดย ดร.วรรณดี สุธาพาณิชย์ ผู้อำนวยการวิทยาลัยชุมชนสตูล มอบหมายให้ผู้รับผิดชอบดำเนินการ โครงการย่อยที่ 3 โครงการพัฒนาทักษะด้านอาชีพให้กับนักเรียนในเขตอุทยานธรณีโลกสตูล
กิจกรรมที่ 6 กิจกรรมฝึกอบรม หลักสูตรพัฒนาทักษะด้านอาชีพให้กับนักเรียนในเขตอุทยานธรณีโลกสตูล จำนวน 7 หลักสูตร คือ หลักสูตรขนมผูกรัก, หลักสูตรขนมแนหรำ, หลักสูตรการทำพวงกุญแจยาง, หลักสูตรขนมลุกชุบ, หลักสูตรผัดไทยชาวเกาะ, หลักสูตรการทำน้ำพริกไตปลาแห้ง, หลักสูตรเบเกอรี่ โดยได้ดำเนินให้กับครูแกนนำและนักเรียนในโรงเรียน จำนวน 11 โรงเรียน โดยจัดการเรียนการสอนในระหว่างวันที่ 21 มิถุนายน 2562 – 27 มิถุนายน 2562 ตั้งแต่เวลา 08.30 – 16.30 น. สอนโดยวิทยากรหลักสูตรฝึกอบรม ซึ่งเป็นผู้ที่มีความสามารถเชี่ยวชาญในการพัฒนาอาชีพ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
วิทยาลัยชุมชนสตูลร่วมกับครูแกนนำโรงเรียนจัดฝึกอบรม โดย ดร.วรรณดี สุธาพาณิชย์ ผู้อำนวยการวิทยาลัยชุมชนสตูล มอบหมายให้ผู้รับผิดชอบดำเนินการ โครงการย่อยที่ 3 โครงการพัฒนาทักษะด้านอาชีพให้กับนักเรียนในเขตอุทยานธรณีโลกสตูล กิจกรรมที่ 6 กิจกรรมฝึกอบรม หลักสูตรพัฒนาทักษะด้านอาชีพให้กับนักเรียนในเขตอุทยานธรณีโลกสตูล จำนวน 7 หลักสูตร ให้กับครูแกนนำและนักเรียนในโรงเรียน จำนวน 11 โรงเรียน เพื่อให้ครูแกนนำแต่ละโรงเรียนมีทักษะในหลักสูตรนั้นๆ และสามารถถ่ายทอดความรู้ให้กับนักเรียนได้ ดังนี้
วันที่ 21 มิถุนายน 2562 อบรมหลักสูตรเบเกอรี่ (เค้กกล้วยหอม,โดนัทเค้ก)
ครูแกนนำโรงเรียนอนุบาลเมืองสตูล , โรงเรียนบ้านควนสตอ ,โรงเรียนบ้านทุ่งมะปรัง
ฝึกอบรม ณ วิทยาลัยชุมชนสตูล มีครูแกนนำเข้ารับการฝึกอบรม จำนวน 6 คน
วิทยากรผู้สอน คือ อ.ณิชาภัทร วรสันติกุล
วันที่ 21 มิถุนายน 2562 อบรมหลักสูตรการทำพวงกุญแจยาง
ครูแกนนำโรงเรียนไทยรัฐวิทยา 40 บ้านควนโพธิ์
ฝึกอบรม ณ ศูนย์เรียนรู้บ้านควนโพธิ์ ครูแกนนำเข้ารับการฝึกอบรม จำนวน 2 คน
วิทยากรผู้สอน คือ นายอรรถกร โชติพืช
วันที่ 24 มิถุนายน 2562 อบรมหลักสูตรขนมพื้นบ้าน (ขนมแนหรำงาสมุนไพร)
ครูแกนนำโรงเรียนบ้านทุ่งวิมาน ,โรงเรียนบ้านตันหยงอุมาชัยพัฒนา, โรงเรียนบ้านใหม่
ฝึกอบรม ณ โรงเรียนบ้านทุ่งวิมาน มีครูแกนนำเข้ารับการฝึกอบรม จำนวน 6 คน
วิทยากรผู้สอน คือ นางสาวสระ หลงเจะ
วันที่ 24 มิถุนายน 2562 อบรมหลักสูตรขนมลูกชุบ
ครูแกนนำโรงเรียนบ้านวังประจัน
ฝึกอบรม ณ โรงเรียนบ้านวังประจัน มีครูแกนนำเข้ารับการฝึกอบรม จำนวน 3 คน
วิทยากรผู้สอน คือ นางจริยา วงศ์สัมพันธ์
วันที่ 25 มิถุนายน 2562 อบรมหลักสูตรการน้ำพริกไตปลาแห้ง
ครูแกนนำโรงเรียนเกาะสาหร่ายชัยพัฒนา
ฝึกอบรม ณ โรงเรียนเกาะสาหร่ายชัยพัฒนา มีครูแกนนำเข้ารับการฝึกอบรม จำนวน 3 คน
วิทยากรผู้สอน คือ นางสาวจุฑารัตน์ บิลังโหลด
วันที่ 26 มิถุนายน 2562 อบรมหลักสูตรผัดไทยชาวเกาะ
ครูแกนนำโรงเรียนบ้านเกาะยะระโตดนุ้ย
ฝึกอบรม ณ โรงเรียนบ้านเกาะยะระโตดนุ้ย มีครูแกนนำเข้ารับการฝึกอบรม จำนวน 3 คน
วิทยากรผู้สอน คือ นางกนิษฐา รับไทรทอง
วันที่ 27 มิถุนายน 2562 อบรมหลักสูตรขนมผูกรัก
ครูแกนนำโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 42 จังหวัดสตูล
ฝึกอบรม ณ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 42 จังหวัดสตูล มีครูแกนนำเข้ารับการฝึกอบรม จำนวน 3 คน
วิทยากรผู้สอน คือ นางสาวจุฑารัตน์ บิลังโหลด
โดยมีค่าใช้จ่ายทั้งหมด 9,200.00 บาท
22
0
10. โครงการย่อยที่ 3 โครงการพัฒนาทักษะด้านอาชีพให้กับนักเรียนในเขตอุทยานธรณีโลกสตูล กิจกรรมที่ 7 กิจกรรม ติดตาม นิเทศแบบกัลยาณมิตรเพื่อพัฒนาสมรรถนะครูในการพัฒนาทักษะด้านอาชีพให้กับนักเรียนในเขตอุทยานธรณีโลกสตูล
วันที่ 24 มิถุนายน 2562กิจกรรมที่ทำ
วิทยาลัยชุมชนสตูลร่วมกับครูแกนนำโรงเรียนจัดฝึกอบรม โดย ดร.วรรณดี สุธาพาณิชย์ ผู้อำนวยการวิทยาลัยชุมชนสตูล มอบหมายให้ผู้รับผิดชอบดำเนินการ โครงการย่อยที่ 3 โครงการพัฒนาทักษะด้านอาชีพให้กับนักเรียนในเขตอุทยานธรณีโลกสตูล
กิจกรรมที่ 7 กิจกรรม ติดตาม นิเทศแบบกัลยาณมิตรเพื่อพัฒนาสมรรถนะครูในการพัฒนาทักษะด้านอาชีพให้กับนักเรียนในเขตอุทยานธรณีโลกสตูล จำนวน 7 หลักสูตร คือ หลักสูตรขนมผูกรัก, หลักสูตรขนมแนหรำ, หลักสูตรการทำพวงกุญแจยาง, หลักสูตรขนมลุกชุบ, หลักสูตรผัดไทยชาวเกาะ, หลักสูตรการทำน้ำพริกไตปลาแห้ง, หลักสูตรเบเกอรี่ โดยได้ดำเนินให้กับครูแกนนำและนักเรียนในโรงเรียน จำนวน 11 โรงเรียน โดยจัดการเรียนการสอนในระหว่างวันที่ 24 มิถุนายน 2562 – 25 กรกฎาคม 2562 ตั้งแต่เวลา 08.30 – 16.30 น. โดยมีการติดตาม นิเทศแบบกัลยาณมิตรเพื่อพัฒนาสมรรถนะครูในการพัฒนาทักษะด้านอาชีพให้กับนักเรียนในเขตอุทยานธรณีโลกสตูลต่อไป
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
วิทยาลัยชุมชนสตูลร่วมกับครูแกนนำโรงเรียนจัดฝึกอบรม โดย ดร.วรรณดี สุธาพาณิชย์ ผู้อำนวยการวิทยาลัยชุมชนสตูล มอบหมายให้ผู้รับผิดชอบดำเนินการ โครงการย่อยที่ 3 โครงการพัฒนาทักษะด้านอาชีพให้กับนักเรียนในเขตอุทยานธรณีโลกสตูล กิจกรรมที่ 7 กิจกรรม ติดตาม นิเทศแบบกัลยาณมิตรเพื่อพัฒนาสมรรถนะครูในการพัฒนาทักษะด้านอาชีพให้กับนักเรียนในเขตอุทยานธรณีโลกสตูล จำนวน 7 หลักสูตร คือ หลักสูตรขนมผูกรัก, หลักสูตรขนมแนหรำ, หลักสูตรการทำพวงกุญแจยาง, หลักสูตรขนมลุกชุบ, หลักสูตรผัดไทยชาวเกาะ, หลักสูตรการทำน้ำพริกไตปลาแห้ง, หลักสูตรเบเกอรี่ โดยได้ดำเนินให้กับครูแกนนำและนักเรียนในโรงเรียน จำนวน 11 โรงเรียน ดังนี้
วันที่ 27 มิถุนายน 2562 เวลา 08.30 – 16.30 น. ฝึกอบรมหลักสูตรการทำน้ำพริกไตปลาแห้ง
ณ โรงเรียนบ้านเกาะสาหร่ายชัยพัฒนา อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
วันที่ 28 มิถุนายน 2562 เวลา 08.30 – 16.30 น. ฝึกอบรมหลักสูตรผัดไทยชาวเกาะ
ณ โรงเรียนบ้านเกาะยะระโตดนุ้ย อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
วันที่ 28 มิถุนายน 2562 เวลา 08.30 – 16.30 น. ฝึกอบรมหลักสูตรขนมลูกชุบ
ณ โรงเรียนบ้านวังประจัน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล
วันที่ 2 กรกฎาคม 2562 เวลา 08.30 – 16.30 น. ฝึกอบรมหลักสูตรเบเกอรี่ โดยมีการฝึกอบรมทำเค้กกล้วยหอมและโดนัทเค้ก
ณ โรงเรียนบ้านทุ่งมะปรัง อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล
วันที่ 5 กรกฎาคม 2562 เวลา 08.30 – 16.30 น. ฝึกอบรมหลักสูตรขนมผูกรัก
ณ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 42 จ.สตูล อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
วันที่ 8 กรกฎาคม 2562 เวลา 08.30 – 16.30 น. ฝึกอบรมหลักสูตรขนมพื้นบ้าน (ขนมแนหรำงาสมุนไพร)
ณ โรงเรียนบ้านทุ่งวิมาน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
วันที่ 9 กรกฎาคม 2562 เวลา 08.30 – 16.30 น. ฝึกอบรมหลักสูตรเบเกอรี่ โดยมีการฝึกอบรมทำเค้กกล้วยหอมและโดนัทเค้ก
ณ โรงเรียนบ้านควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล
วันที่ 10 กรกฎาคม 2562 เวลา 08.30 – 16.30 น. ฝึกอบรมหลักสูตรขนมขนมพื้นบ้าน (ขนมแนหรำงาสมุนไพร)
ณ โรงเรียนบ้านใหม่ อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
วันที่ 24 กรกฎาคม 2562 เวลา 08.30 – 16.30 น. ฝึกอบรมหลักสูตรขนมพื้นบ้าน (ขนมแนหรำงาสมุนไพร)
ณ โรงเรียนบ้านตันหยงอุมาชัยพัฒนา อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
วันที่ 24 กรกฎาคม 2562 เวลา 08.30 – 16.30 น. ฝึกอบรมหลักสูตรการทำพวงกุญแจยาง
ณ โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 40 (บ้านควนโพธิ์) อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
วันที่ 26 กรกฎาคม 2562 เวลา 08.30 – 16.30 น. ฝึกอบรมหลักสูตรเบเกอรี่
ณ โรงเรียนอนุบาลเมืองสตูล อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
โดยใช้งบประมาณทั้งหมด 44,000 บาท
300
0
11. โครงการย่อยที่ 4 โครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้อุทยานธรณีโลกสตูลในโรงเรียน กิจกรรมที่ 1 การประชุมระดมความคิด ตระหนักในหลักการเป้าหมายและร่วมบูรณาการแผนการดำเนินงานและกลไกการบริหารจัดการโครงการในโรงเรียนที่จะดำเนินการเกี่ยวกับการพัฒนาแหล่งเรียนรู้อุทยานธรณีโล
วันที่ 24 มิถุนายน 2562กิจกรรมที่ทำ
วิทยาลัยชุมชนสตูลเดินหน้าลุยโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง
ในวันที่ 24 มิถุนายน 2562 โดย ดร.วรรณดี สุธาพาณิชย์ ผู้อำนวยการวิทยาลัยชุมชนสตูล ได้มอบหมายให้ ดร.มาณี ฉัตรชัยวงศ์ รองผู้อำนวยการวิทยาลัยชุมชนสตูล และคณะ ลงพื้นที่เพื่อดำเนินโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
โครงการย่อยที่ 4 กิจกรรมย่อย 4.1 โครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้อุทยานธรณีโลกสตูลในโรงเรียน ดำเนินการจัดประชุมระดมความคิด ตระหนักในหลักการเป้าหมาย และร่วมบูรณาการแผนการดำเนินงานและกลไกการบริหารจัดการโครงการในโรงเรียนที่จะดำเนินการเกี่ยวกับการพัฒนาแหล่งเรียนรู้อุทยานธรณีโลกสตูลในโรงเรียน ณ ห้องประชุมชบา วิทยาลัยชุมชนสตูล อ.เมืองสตูล จ.สตูล โดยมีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการจำนวน 3 โรงเรียน สร้างความพึงพอใจให้ผู้บริหารและครูผู้รับผิดชอบเป็นอย่างมาก
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
วิทยาลัยชุมชนสตูลร่วมกับโรงเรียนกลุ่ม พญาบังสา โดย ดร.วรรณดี สุธาพาณิชย์ ผู้อำนวยการวิทยาลัยชุมชนสตูล ได้มอบหมายให้ ดร.มาณี ฉัตรชัยวงศ์ รองผู้อำนวยการวิทยาลัยชุมชนสตูล และคณะ ดำเนินโครงการย่อยที่ 4 โครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้อุทยานธรณีโลกสตูลในโรงเรียน กิจกรรมที่ 1 การประชุมระดมความคิด ตระหนักในหลักการเป้าหมายและร่วมบูรณาการแผนการดำเนินงานและกลไกการบริหารจัดการโครงการในโรงเรียนที่จะดำเนินการเกี่ยวกับการพัฒนาแหล่งเรียนรู้อุทยานธรณีโลกสตูลในโรงเรียน (กลุ่ม 3 กลุ่มทะเล) ในวันที่ 24 มิถุนายน 2562 เวลา 08.30 - 16.30 น. ณ ห้องประชุมชบา วิทยาลัยชุมชนสตูล โดยผู้เข้าร่วม จำนวน 3 โรงเรียน คือ ครูกลุ่มทะเล ประกอบด้วย ครูโรงเรียนบ้านเกาะสาหร่ายชัยพัฒนา, ครูโรงเรียนบ้านตันหยงอุมาชัยพัฒนา, ครูโรงเรียนบ้านยะระโตดนุ้ย มีผู้เข้าร่วมจำนวนทั้งสิ้น 10 คน โดยมีหัวข้อดังนี้
1.การเก็บข้อมูลด้านแหล่งเรียนรู้
- แหล่งเรียนรู้ภายใน
- แหล่งเรียนรู้ภายนอก
- สถานที่ตั้ง
- แผนที่เดินดิน
- ประวัติความเป็นมาเรื่องเล่า
- การใช้สอย/การใช้ประโยชน์
- การมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแล
- ภูมิปัญญา/ปราชญ์ชาวบ้าน
- อื่นๆ
เบื้องต้นได้มีการระดมความคิด แลกเปลี่ยนความรู้ เรื่องแหล่งเรียนรู้ภายในและภายนอกสถานศึกษา จากนั้นทำการคัดแยกประเภทออกเป็นบุคคล สถานที่ จากนั้นได้มอบหมายให้ทุกโรงเรียนดำเนินการจัดกลุ่มนักเรียนเพื่อทำการลงพื้นที่สำรวจร่วมกับครูและบุคคลในชุมชน สำรวจแหล่งเรียนรู้รอบโรงเรียน และรวบรวมข้อมูลตามหัวข้อต่างๆ ระหว่างวันที่ 25 มิ.ย. – 30 ก.ค. 2562
2.รูปแบบการจัดทำเอกสารแหล่งเรียนรู้
- ไวนิลแผนที่แหล่งเรียนรู้รอบโรงเรียน โดยจัดเป็นมุมความรู้ไว้ในห้องสมุดของทุกโรงเรียน
3.ปฏิทินการดำเนินการ
- กำหนดช่วงเวลามอบหมายงานให้นักเรียนสรุปผลข้อมูลจากการลงพื้นที่สำรวจให้อยู่ในรูปแบบของแผนที่เดินดิน ช่วงเวลาดำเนินการระหว่างวันที่ 26 มิ.ย. – 25 ส.ค. 2562
- กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของแต่ละสถานศึกษาโดยนักเรียน วันที่ 29 ส.ค. 2562 ประกอบด้วย กลุ่มพญาบังสา, กลุ่มชายแดน, กลุ่มทะเล และคณะครู วชช.สตูล
4.กำหนดการนิเทศติดตาม
- ระหว่างวันที่ 1 ก.ค. – 28 ส.ค. 2562 ดำเนินการโดย วชช.สตูล ติดตามความคืบหน้าลงพื้นที่ไปในแต่ละโรงเรียน เพื่อสอบถามความต้องการและปัญหา อุปสรรคระหว่างการดำเนินการ
ค่าใช้จ่ายในการดำเนินโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 โครงการย่อยที่ 4 โครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้อุทยานธรณีโลกสตูลในโรงเรียนกิจกรรมที่ 1 การประชุมระดมความคิด ตระหนักในหลักการเป้าหมายและร่วมบูรณาการแผนการดำเนินงานและกลไกการบริหารจัดการโครงการในโรงเรียนที่จะดำเนินการเกี่ยวกับการพัฒนาแหล่งเรียนรู้อุทยานธรณีโลกสตูลในโรงเรียน (กลุ่ม 3) จำนวนเงินทั้งสิ้น 3,000 บาท
10
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อสนับสนุนให้สถาบันอุดมศึกษาทำหน้าที่เป็น “พี่เลี้ยง” โดยทำงานร่วมกับโรงเรียน ชุมชน และหน่วยงานในพื้นที่ในการนำองค์ความรู้ ความเชี่ยวชาญ และเทคโนโลยีไปช่วยแก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนในท้องถิ่นให้เกิดความเข้มแข็งและพัฒนาท้องถิ่นได้ตรงตามบริบทของชุมชน
ตัวชี้วัด : หลักสูตรมัคคุเทศก์น้อย จำนวน 1 หลักสูตร
นักเรียนร่วมกิจกรรมหลักสูตรมัคคุเทศก์น้อย จำนวน 300 คน
หลักสูตรทักษะด้านอาชีพ จำนวน 1 หลักสูตร
นักเรียนร่วมกิจกรรมหลักสูตรทักษะด้านอาชีพ จำนวน 300 คน
มีแหล่งเรียนรู้ใกล้โรงเรียน จำนวน 10 แหล่ง
ครูเข้าร่วมกิจกรรมการพัฒนาความสามารถใช้ ICT เพื่อการศึกษา จำนวน 50 คน
350.00
2
เพื่อให้สถาบันอุดมศึกษามีส่วนร่วมในการส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการยกระดับคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานในภาพรวมของประเทศ
ตัวชี้วัด : ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนสูงขึ้น ร้อยละ 60
นักเรียนมีทักษะในการพัฒนาตนเองด้านอาชีพมากขึ้น ร้อยละ 60
นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับแหล่งเรียนรู้ใกล้โรงเรียนเพิ่มขึ้น ร้อยละ 60
ครูสามารถนำ ICT มาใช้ในการสอนเพิ่มขึ้น ร้อยละ 60
60.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
350
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนครูที่เข้าร่วมโครงการ
50
จำนวนนักเรียนเป้าหมาย
300
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นาย อัศวยุช เทศอาเส็น )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
เครือข่ายอุดมศึกษา
“ โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง ”
จังหวัดสตูลหัวหน้าโครงการ
นาย อัศวยุช เทศอาเส็น
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง
ที่อยู่ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ เครือข่ายอุดมศึกษา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 300,000.00 บาท จาก เครือข่ายอุดมศึกษา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เพื่อมุ่งสู่แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560–2564) ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องต้องเข้ามามีส่วนร่วมอย่างเป็นระบบ โดยเฉพาะภาคอุดมศึกษาซึ่งประสานพลัง ขับเคลื่อนในรูปของเครือข่ายอุดมศึกษาภูมิภาค 9 เครือข่าย โดยมีสถาบันอุดมศึกษาสมาชิกกระจายทั่วทุกภูมิภาคและมีความพร้อมทั้งด้านความรู้และความเชี่ยวชาญทางวิชาการของบุคลากรและเทคโนโลยีที่จะให้บริการทางวิชาการแก่ชุมชนท้องถิ่นได้อย่างเป็นรูปธรรมเพื่อช่วยพัฒนาโรงเรียนให้ผลิตนักเรียนที่มีคุณภาพเข้าสู่ภาคอุดมศึกษาและเป็นทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพสูงในการขับเคลื่อนประเทศไทยไปสู่ Thailand 4.0 มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาและวิทยาลัยชุมชนสตูลร่วมดำเนินงานโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น โดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยงในพื้นที่จังหวัดสตูล ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2559 และในปีที่ผ่านมาในปีงบประมาณ 2560 มีการขยายการดำเนินงานโครงการไปยังพื้นที่และโรงเรียนที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ที่แตกต่างกัน 3 กลุ่มโรงเรียน คือ โรงเรียนที่ตั้งอยู่ในพื้นที่การท่องเที่ยว โรงเรียนตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ชนบท และโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนในโครงการพระราชดำริฯ รวม 14 โรงเรียน และในปีงบประมาณ 2561 มีการดำเนินการโดยการนำศาสตร์พระราชสู่การพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น เพื่อพัฒนาการศึกษาและพัฒนาท้องถิ่นให้บรรลุผลตามนโยบายและเป้าหมายแห่งรัฐ อันจะส่งผลให้สามารถยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ตลอดจนศักยภาพของผู้เรียนของโรงเรียนเป้าหมายได้ตามมาตรฐานการศึกษาชาติและสอดคล้องกับนโยบายการพัฒนาการศึกษาและการพัฒนาประเทศ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสนับสนุนให้สถาบันอุดมศึกษาทำหน้าที่เป็น “พี่เลี้ยง” โดยทำงานร่วมกับโรงเรียน ชุมชน และหน่วยงานในพื้นที่ในการนำองค์ความรู้ ความเชี่ยวชาญ และเทคโนโลยีไปช่วยแก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนในท้องถิ่นให้เกิดความเข้มแข็งและพัฒนาท้องถิ่นได้ตรงตามบริบทของชุมชน
- เพื่อให้สถาบันอุดมศึกษามีส่วนร่วมในการส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการยกระดับคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานในภาพรวมของประเทศ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- โครงการย่อยที่ 1 โครงการบริหารจัดการโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น โดยมีสถาบัน อุดมศึกษา : วิทยาลัยชุมชนสตูลและมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาเป็นพี่เลี้ยงจังหวัดสตูล
- โครงการย่อยที่ 2 โครงการบูรณาการความรู้สู่วิชาชีพพัฒนามัคคุเทศก์น้อยของท้องถิ่น กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมค่ายมัคคุเทศก์น้อยของชุมชน ครั้งที่ 1
- โครงการย่อยที่ 4 โครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้อุทยานธรณีโลกสตูลในโรงเรียน กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมประชุมระดมความคิด ตระหนักในหลักการ เป้าหมาย และร่วมบูรณาการ แผนการ ดำเนินงานและกลไก การบริหารจัดการโครงการในโรงเรียนที่จะดำเนินการเกี่ยวกับการพัฒนาแหล่งเรียนรู้อุทยา
- โครงการย่อยที่ 5 โครงการพัฒนาทักษะการใช้ ICT เพื่อการศึกษาของครู กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมประชุม อบรมพัฒนาทักษะการใช้ ICT เพื่อการศึกษา
- กิจกรรมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษผ่านมัคคุเทศก์น้อยของท้องถิ่น
- โครงการย่อยที่ 2 โครงการบูรณาการความรู้สู่วิชาชีพพัฒนามัคคุเทศก์น้อยของท้องถิ่น กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมค่ายมัคคุเทศก์น้อยของชุมชน ครั้งที่ 2
- โครงการย่อยที่ 3 โครงการพัฒนาทักษะด้านอาชีพให้กับนักเรียนในเขตอุทยานธรณีโลกสตูล กิจกรรมที่ 6 กิจกรรมฝึกอบรม หลักสูตรพัฒนาทักษะด้านอาชีพให้กับนักเรียนในเขตอุทยานธรณีโลกสตูล
- โครงการย่อยที่ 3 โครงการพัฒนาทักษะด้านอาชีพให้กับนักเรียนในเขตอุทยานธรณีโลกสตูล กิจกรรมที่ 7 กิจกรรม ติดตาม นิเทศแบบกัลยาณมิตรเพื่อพัฒนาสมรรถนะครูในการพัฒนาทักษะด้านอาชีพให้กับนักเรียนในเขตอุทยานธรณีโลกสตูล
- โครงการย่อยที่ 4 โครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้อุทยานธรณีโลกสตูลในโรงเรียน กิจกรรมที่ 1 การประชุมระดมความคิด ตระหนักในหลักการเป้าหมายและร่วมบูรณาการแผนการดำเนินงานและกลไกการบริหารจัดการโครงการในโรงเรียนที่จะดำเนินการเกี่ยวกับการพัฒนาแหล่งเรียนรู้อุทยานธรณีโล
- โครงการย่อยที่ 3 โครงการพัฒนาทักษะด้านอาชีพให้กับนักเรียนในเขตอุทยานธรณีโลกสตูล กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมประชุมระดมความคิด ตระหนักในหลักการ เป้าหมาย และร่วมบูรณาการ แผนการ ดำเนินงานและกลไก การบริหารจัดการโครงการในโรงเรียนที่จะดำเนินการ
- โครงการย่อยที่ 4 โครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้อุทยานธรณีโลกสตูลในโรงเรียน กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมประชุมระดมความคิด ตระหนักในหลักการ เป้าหมาย และร่วมบูรณาการ แผนการ ดำเนินงานและกลไก การบริหารจัดการโครงการในโรงเรียนที่จะดำเนินการเกี่ยวกับการพัฒนาแหล่งเรียนรู้อุทยา
- โครงการย่อยที่ 2 โครงการบูรณาการความรู้สู่วิชาชีพพัฒนามัคคุเทศก์น้อยของท้องถิ่น กิจกรรมที่ 9 กิจกรรมจัดค่ายฝึกอบรม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
จำนวนครูที่เข้าร่วมโครงการ | 50 | |
จำนวนนักเรียนเป้าหมาย | 300 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1) เครือข่ายความร่วมมือ ประกอบด้วย เครือข่ายสถาบันอุดมศึกษาภาคใต้ตอนล่างที่รับผิดชอบจังหวัดสตูล : วิทยาลัยชุมชนสตูล องค์กรทั้งภาครัฐ ท้องงถิ่นและเอกชน สามารถร่วมมือพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นได้ตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายของโครงการอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับบริบทและความต้องการของโรงเรียนและชุมชน
2) คณาจารย์ บุคลากรของวิทยาลัยชุมชนสตูลร่วมกับคณะครู นักวิชาการ และนักปฏิบัติการในโรงเรียนและท้องถิ่น เป้าหมาย บูรณาการองค์ความรู้ วิชาการ นวัตกรรมการจัดการศึกษา ทักษะและความเชี่ยวชาญด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนสู่การปฏิบัติจริง เสริมสร้างครูผู้สอนให้มีศักยภาพ รวมทั้งเพิ่มพูนศักยภาพ ประสบการณ์แก่คณาจารย์สถาบันอุดมศึกษาและนักวิชาการในท้องถิ่น ทำให้สามารถร่วมยกระดับคุณภาพการศึกษาได้ตามเป้าหมายและเสริมสร้างความตระหนักในความรับผิดชอบต่อสังคม มีบทบาทในการแก้ไขปัญหาการศึกษา การพัฒนาโรงเรียนและชุมชน
3) ผู้บริหาร คณะครู และโรงเรียนเป้าหมายมีความเข้มแข็งทางวิชาการ มีระบบ กลไก สามารถออกแบบการพัฒนาการจัดการเรียนรู้และฝึกทักษะด้านภาษาอังกฤษ และเรียนรู้และฝึกทักษะพัฒนาอาชีพ ตามมาตรฐานหลักสูตรที่เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพชุมชน
4) ครูผู้สอนที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนานักเรียนด้านภาษาอังกฤษ และด้านทักษะพัฒนาอาชีพ จำนวนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 มีทักษะในการออกแบบการจัดการเรียนรู้และมีพฤติกรรมการจัดการเรียนรู้ผ่านเกณฑ์ในระดับดี (ร้อยละ 70)
5) ผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน และนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการอย่างน้อยร้อยละ 80 มีความพึงพอใจทางบวกต่อการดำเนินโครงการในระดับมาก (3.50) ขึ้นไปจากระดับการประเมิน 5 ระดับ
6) นักเรียนมีผลการเรียนประเมินด้านทักษะภาษาอังกฤษ และด้านทักษะพัฒนาอาชีพ หลังการเข้าร่วมกิจกรรมสูงกว่าก่อนเข้าร่วมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. โครงการย่อยที่ 1 โครงการบริหารจัดการโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น โดยมีสถาบัน อุดมศึกษา : วิทยาลัยชุมชนสตูลและมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาเป็นพี่เลี้ยงจังหวัดสตูล |
||
วันที่ 10 พฤษภาคม 2562กิจกรรมที่ทำกำหนดการ
โครงการย่อยที่ 1 โครงการบริหารจัดการโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น โดยมีสถาบันอุดมศึกษา : วิทยาลัยชุมชนสตูลและมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาเป็นพี่เลี้ยงจังหวัดสตูล
กิจกรรมที่ 3 ประชุมเสริมสร้างความเข้าใจ ตระหนักในหลักการและเป้าหมายร่วมกัน รวมพลังสร้างความเข้มแข็งแก่โรงเรียนเป้าหมาย
ในวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 เวลา 08.30 – 09.30 น. ลงทะเบียน
เวลา 09.30 – 10.00 น. พิธีเปิด
เวลา 10.00 – 12.00 น. ผลการดำเนินงานโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นวิทยาลัชุมชนสตูลร่วมกับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล และภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง โดย ดร.วรรณดี สุธาพาณิชย์ ผู้อำนวยการวิทยาลัยชุมชนสตูล เป็นประธานที่ประชุมพร้อมด้วยรองผู้อำนวยการ และบุคลากร เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยสถาบันอุดมศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล และมหาลัยราชภัฏสงขลาเป็นพี่เลี้ยง : จังหวัดสตูล ในวันที่ 10 พฤษภาคม 2562 ณ ห้องประชุม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอำเภอเมืองสตูล อ.เมืองสตูล จ.สตูล โดยเป็นการประชุมครั้งแรกเพื่อสร้างความเข้าใจในการดำเนินโครงการกับโรงเรียนกลุ่มเป้าหมายที่อยู่ห่างไกลและโรงเรียนตามเกาะต่างๆ ของจังหวัดสตูล จำนวน 11 โรงเรียน โดยได้รับเกียรติจาก นายกอเฉ็ม หมีนเหม รองผู้อำนวยการ สพป.สตูล กล่าวต้อนรับผู้เข้าร่วมประชุม การดำเนินโครงการย่อยที่ 1 โครงการบริหารจัดการโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น โดยมีสถาบันอุดมศึกษา : วิทยาลัยชุมชนสตูลและมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาเป็นพี่เลี้ยงจังหวัดสตูล กิจกรรมที่ 3 ประชุมเสริมสร้างความเข้าใจ ตระหนักในหลักการและเป้าหมายร่วมกัน รวมพลังสร้างความเข้มแข็งแก่โรงเรียนเป้าหมายโดยเบิกจ่ายจากโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 เป็นเงินทั้งสิ้น จำนวน 14,240 บาท
|
33 | 0 |
2. โครงการย่อยที่ 2 โครงการบูรณาการความรู้สู่วิชาชีพพัฒนามัคคุเทศก์น้อยของท้องถิ่น กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมค่ายมัคคุเทศก์น้อยของชุมชน ครั้งที่ 1 |
||
วันที่ 24 พฤษภาคม 2562กิจกรรมที่ทำกำหนดการ
กิจกรรมการพัฒนาหลักสูตรมัคคุเทศก์น้อยของท้องถิ่น
โครงการย่อยที่ 2 โครงการบูรณาการความรู้สู่วิชาชีพพัฒนามัคคุเทศก์น้อยของท้องถิ่น
กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมค่ายมัคคุเทศก์น้อยของชุมชน
โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น โดยสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง
ในวันศุกร์ ที่ 24 พฤษภาคม 2562 เวลา 13.30 - 17.00 น. เวลา 13.00 – 13.30 น. ลงทะเบียน
เวลา 13.30 – 14.00 น. พิธีเปิด และแนะนำกิจกรรมการพัฒนาหลักสูตรมัคคุเทศก์น้อยของท้องถิ่น โครงการย่อยที่ 2 โครงการบูรณาการความรู้สู่วิชาชีพพัฒนามัคคุเทศก์น้อยของ ท้องถิ่น
เวลา 14.00 – 17.00 น. ร่วมกันพัฒนาหลักสูตรมัคคุเทศก์น้อยของท้องถิ่น
โดยวิทยากร นายอัศวยุช เทศอาเส็น ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
15 | 0 |
3. โครงการย่อยที่ 4 โครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้อุทยานธรณีโลกสตูลในโรงเรียน กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมประชุมระดมความคิด ตระหนักในหลักการ เป้าหมาย และร่วมบูรณาการ แผนการ ดำเนินงานและกลไก การบริหารจัดการโครงการในโรงเรียนที่จะดำเนินการเกี่ยวกับการพัฒนาแหล่งเรียนรู้อุทยา |
||
วันที่ 28 พฤษภาคม 2562กิจกรรมที่ทำวิทยาลัยชุมชนสตูลเดินหน้าลุยโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง ในวันที่ 28 พฤษภาคม 2562 โดย ดร.วรรณดี สุธาพาณิชย์ ผู้อำนวยการวิทยาลัยชุมชนสตูล ได้มอบหมายให้ ดร.มาณี ฉัตรชัยวงศ์ รองผู้อำนวยการวิทยาลัยชุมชนสตูล และคณะ ลงพื้นที่เพื่อดำเนินโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 โครงการย่อยที่ 4 กิจกรรมย่อย 4.1 โครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้อุทยานธรณีโลกสตูลในโรงเรียน ดำเนินการจัดประชุมระดมความคิด ตระหนักในหลักการเป้าหมาย และร่วมบูรณาการแผนการดำเนินงานและกลไกการบริหารจัดการโครงการในโรงเรียนที่จะดำเนินการเกี่ยวกับการพัฒนาแหล่งเรียนรู้อุทยานธรณีโลกสตูลในโรงเรียน ณ โรงเรียนบ้านทุ่งวิมาน อ.เมืองสตูล จ.สตูล โดยมีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการจำนวน 4 โรงเรียน สร้างความพึงพอใจให้ผู้บริหารและครูผู้รับผิดชอบเป็นอย่างมาก ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นวิทยาลัยชุมชนสตูลร่วมกับโรงเรียนกลุ่ม พญาบังสา โดย ดร.วรรณดี สุธาพาณิชย์ ผู้อำนวยการวิทยาลัยชุมชนสตูล ได้มอบหมายให้ ดร.มาณี ฉัตรชัยวงศ์ รองผู้อำนวยการวิทยาลัยชุมชนสตูล และคณะ จัดโครงการย่อยที่ 4 โครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้อุทยานธรณีโลกสตูลในโรงเรียน กิจกรรมที่ 1 การประชุมระดมความคิด ตระหนักในหลักการเป้าหมายและร่วมบูรณาการแผนการดำเนินงานและกลไกการบริหารจัดการโครงการในโรงเรียนที่จะดำเนินการเกี่ยวกับการพัฒนาแหล่งเรียนรู้อุทยานธรณีโลกสตูลในโรงเรียน (กลุ่ม 1 กลุ่มพญาบังสา) ในวันที่ 28 พฤษภาคม 2562 เวลา 13.30 – 17.00 น. ณ โรงเรียนบ้านทุ่งวิมาน อำเภอเมือง จังหวัดสตูล โดยผู้เข้าร่วม จำนวน 4 โรงเรียน คือ ครูโรงเรียนอนุบาลเมืองสตูล, ครูโรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๔๐ (บ้านควนโพธิ์), ครูโรงเรียนบ้านใหม่, ครูโรงเรียนบ้านทุ่งวิมาน, มีผู้เข้าร่วมจำนวนทั้งสิ้น 10 คน โดยมีหัวข้อดังนี้
|
10 | 0 |
4. โครงการย่อยที่ 3 โครงการพัฒนาทักษะด้านอาชีพให้กับนักเรียนในเขตอุทยานธรณีโลกสตูล กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมประชุมระดมความคิด ตระหนักในหลักการ เป้าหมาย และร่วมบูรณาการ แผนการ ดำเนินงานและกลไก การบริหารจัดการโครงการในโรงเรียนที่จะดำเนินการ |
||
วันที่ 31 พฤษภาคม 2562กิจกรรมที่ทำวิทยาลัยชุมชนสตูลจัดโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง โครงการย่อยที่ 3 โครงการพัฒนาทักษะด้านอาชีพให้กับนักเรียนในเขตอุทยานธรณีโลกสตูล วิทยาลัยชุมชนสตูลร่วมกับครูแกนนำโรงเรียนเข้าร่วมประชุมโดย ดร.วรรณดี สุธาพาณิชย์ ผู้อำนวยการวิทยาลัยชุมชนสตูล เป็นประธานในพิธีเปิดโครงการย่อยที่ 3 โครงการพัฒนาทักษะด้านอาชีพให้กับนักเรียนในเขตอุทยานธรณีโลกสตูล กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมประชุมระดมความคิด ตระหนักในหลักการ เป้าหมาย และร่วมบูรณาการ แผนการ ดำเนินงานและกลไก การบริหารจัดการโครงการในโรงเรียนที่จะดำเนินการ ในวันที่ 31 พฤษภาคม 2562 เวลา 08.30 – 16.30 น. ณ ห้องประชุมกาหลง วิทยาลัยชุมชนสตูล ต.เกตรี อ.เมืองสตูล จ.สตูล โดยมีครูแกนนำเข้าร่วม จำนวน 11 โรงเรียน คือ ครูโรงเรียนอนุบาลเมืองสตูล, ครูโรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๔๐ (บ้านควนโพธิ์), ครูโรงเรียนบ้านใหม่, ครูโรงเรียนบ้านทุ่งวิมาน, ครูโรงเรียนบ้านเกาะสาหร่ายชัยพัฒนา, ครูโรงเรียนบ้านตันหยงอุมาชัยพัฒนา, ครูโรงเรียนบ้านเกาะยะระโตดนุ้ย, ครูโรงเรียนบ้านควนสตอ, ครูโรงเรียนบ้านทุ่งมะปรัง, ครูโรงเรียนบ้านวังประจัน และครูโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 42 จังหวัดสตูล มีผู้เข้าร่วมจำนวนทั้งสิ้น 45 คน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นซึ่งได้ระดมความคิดและนำเสนอหลักสูตรฝึกอบรมให้ตรงตามความต้องการของแต่ละโรงเรียน ซึ่งสรุปได้ดังนี้
|
22 | 0 |
5. โครงการย่อยที่ 4 โครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้อุทยานธรณีโลกสตูลในโรงเรียน กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมประชุมระดมความคิด ตระหนักในหลักการ เป้าหมาย และร่วมบูรณาการ แผนการ ดำเนินงานและกลไก การบริหารจัดการโครงการในโรงเรียนที่จะดำเนินการเกี่ยวกับการพัฒนาแหล่งเรียนรู้อุทยา |
||
วันที่ 11 มิถุนายน 2562กิจกรรมที่ทำวิทยาลัยชุมชนสตูลส่งเสริมแหล่งเรียนรู้อุทยานธรณีโลกสตูลในโรงเรียน ในวันที่ 11 มิถุนายน 2562 โดย ดร.วรรณดี สุธาพาณิชย์ ผู้อำนวยการวิทยาลัยชุมชนสตูล ได้มอบหมายให้ ดร.มาณี ฉัตรชัยวงศ์ รองผู้อำนวยการและคณะ ดำเนินโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 โครงการย่อยที่ 4 กิจกรรมย่อย 4.1 โครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้อุทยานธรณีโลกสตูลในโรงเรียน ดำเนินการจัดประชุมระดมความคิด ตระหนักในหลักการเป้าหมายและร่วมบูรณาการแผนการดำเนินงานและกลไกการบริหารจัดการโครงการในโรงเรียนที่จะดำเนินการเกี่ยวกับการพัฒนาแหล่งเรียนรู้อุทยานธรณีโลกสตูลในโรงเรียน (กลุ่มชายแดน) จำนวน 4 โรงเรียน ณ โรงเรียนบ้านทุ่งมะปรัง อำเภอควนโดน เพื่อที่จะเป็นแหล่งศึกษาหาความรู้ของนักเรียนต่อไป ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นวิทยาลัยชุมชนสตูลร่วมกับโรงเรียนกลุ่ม พญาบังสา โดย ดร.วรรณดี สุธาพาณิชย์ ผู้อำนวยการวิทยาลัยชุมชนสตูล ได้มอบหมายให้ ดร.มาณี ฉัตรชัยวงศ์ รองผู้อำนวยการและคณะ ดำเนินโครงการย่อยที่ 4 โครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้อุทยานธรณีโลกสตูลในโรงเรียน กิจกรรมที่ 1 การประชุมระดมความคิด ตระหนักในหลักการเป้าหมายและร่วมบูรณาการแผนการดำเนินงานและกลไกการบริหารจัดการโครงการในโรงเรียนที่จะดำเนินการเกี่ยวกับการพัฒนาแหล่งเรียนรู้อุทยานธรณีโลกสตูลในโรงเรียน (กลุ่ม 2 กลุ่มชายแดน) ในวันที่ 11 มิถุนายน 2562 เวลา 08.30 - 16.30 น. ณ โรงเรียนบ้านทุ่งมะปรัง อ.ควนโดน จ.สตูล โดยผู้เข้าร่วม จำนวน 3 โรงเรียน คือ ครูโรงเรียนบ้านวังประจัน, ครูโรงเรียนบ้านควนสตอ, ครูโรงเรียนบ้านทุ่งมะปรัง,ครูโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๔๒ จังหวัดสตูล มีผู้เข้าร่วมจำนวนทั้งสิ้น 12 คน โดยมีหัวข้อดังนี้
|
10 | 0 |
6. โครงการย่อยที่ 5 โครงการพัฒนาทักษะการใช้ ICT เพื่อการศึกษาของครู กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมประชุม อบรมพัฒนาทักษะการใช้ ICT เพื่อการศึกษา |
||
วันที่ 14 มิถุนายน 2562กิจกรรมที่ทำกำหนดการอบรม โครงการย่อยที่ 5 โครงการพัฒนาทักษะการใช้ ICT เพื่อการศึกษาของครู โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น โดยสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง ในระหว่างวันที่ 14 – 15 มิถุนายน 2562 เวลา 09.00 น. - 16.00 น. ณ วิทยาลัยชุมชนสตูล ต.เกตรี อ.เมืองสตูล จ.สตูล วันที่ 14 มิถุนายน 2562 เวลา 08.00 – 08.30 น. ลงทะเบียน
เวลา 08.30 – 09.00 น. พิธีเปิด และบรรยายพิเศษ
เวลา 09.00 – 12.00 น. ฝึกอบรมหัวข้อ การประยุกต์ใช้สื่อ ICT เพื่อการเรียนรู้ วันที่ 15 มิถุนายน 2562 เวลา 09.00 – 12.00 น. ฝึกอบรมหัวข้อ การใช้ Google Classroom เพื่อการจัดการชั้นเรียน (ต่อ)
แบ่งเป็น 2 กลุ่ม
โดย นายเชษฐา เถาวัลย์ ศึกษานิเทศก์ สพป.สตูล,
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นวิทยาลัยชุมชนสตูลร่วมกับสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดสตูล และภาคีเครือข่ายต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง โดย ดร.วรรณดี สุธาพาณิชย์ ผู้อำนวยการวิทยาลัยชุมชนสตูล เป็นประธานที่ประชุมพร้อมด้วยรองผู้อำนวยการ และบุคลากร ได้กำหนดจัดโครงการย่อยที่ 5 โครงการพัฒนาทักษะการใช้ ICT เพื่อการศึกษาของครู กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมประชุม อบรมพัฒนาทักษะการใช้ ICT เพื่อการศึกษา ในระหว่างวันที่ 14 – 15 มิถุนายน 2562 เวลา 09.00 น. - 16.00 น. ณ วิทยาลัยชุมชนสตูล ต.เกตรี อ.เมืองสตูล จ.สตูล โดยผู้เข้าร่วม จำนวน 11 โรงเรียน คือ ครูโรงเรียนอนุบาลเมืองสตูล, ครูโรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๔๐ (บ้านควนโพธิ์), ครูโรงเรียนบ้านใหม่, ครูโรงเรียนบ้านทุ่งวิมาน, ครูโรงเรียนบ้านเกาะสาหร่ายชัยพัฒนา, ครูโรงเรียนบ้านตันหยงอุมาชัยพัฒนา, ครูโรงเรียนบ้านเกาะยะระโตดนุ้ย, ครูโรงเรียนบ้านควนสตอ, ครูโรงเรียนบ้านทุ่งมะปรัง, ครูโรงเรียนบ้านวังประจัน และครูโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 42 จังหวัดสตูล มีผู้เข้าร่วมจำนวนทั้งสิ้น 50 คน โดยมีหัวข้อดังนี้
|
50 | 0 |
7. กิจกรรมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษผ่านมัคคุเทศก์น้อยของท้องถิ่น |
||
วันที่ 14 มิถุนายน 2562กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นวิทยาลัยชุมชนสตูลจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษผ่านมัคคุเทศก์น้อยของท้องถิ่น ภายใต้โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น โดยสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง ในวันที่ 14 มิถุนายน 2562 โดย ดร.วรรณดี สุธาพาณิชย์ ผู้อำนวยการวิทยาลัยชุมชนสตูล ได้มอบหมายให้ นายอัศวยุช เทศอาเส็น รองผู้อำนวยการวิทยาลัยชุมชนสตูล จัดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษผ่านมัคคุเทศก์น้อยของท้องถิ่น ภายใต้โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น โดยสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง ณ โรงเรียนบ้านทุ่งวิมาน อ.เมืองสตูล จ.สตูล โดยมีนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 30 คน สามารถสร้างความสนุกสนานและได้รับความรู้จากกิจกรรมดังกล่าวเป็นอย่างมาก
|
0 | 0 |
8. โครงการย่อยที่ 2 โครงการบูรณาการความรู้สู่วิชาชีพพัฒนามัคคุเทศก์น้อยของท้องถิ่น กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมค่ายมัคคุเทศก์น้อยของชุมชน ครั้งที่ 2 |
||
วันที่ 18 มิถุนายน 2562กิจกรรมที่ทำกำหนดการ กิจกรรมการพัฒนาหลักสูตรมัคคุเทศก์น้อยของท้องถิ่น โครงการย่อยที่ 2 โครงการบูรณาการความรู้สู่วิชาชีพพัฒนามัคคุเทศก์น้อยของท้องถิ่น กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมค่ายมัคคุเทศก์น้อยของชุมชน ครั้งที่ 2 โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น โดยสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง ในวันอังคาร ที่ 18 มิถุนายน 2562 เวลา 09.00 - 16.00 น. ณ วิทยาลัยชุมชนสตูล ต.เกตรี อ.เมืองสตูล จ.สตูล เวลา 08.30 – 09.00 น. ลงทะเบียน เวลา 09.00 – 09.30 น. พิธีเปิด และบรรยายพิเศษ โดย ดร.วรรณดี สุธาพาณิชย์ ผู้อำนวยการวิทยาลัยชุมชนสตูล เวลา 09.30 – 10.00 น. แนะนำกิจกรรมการพัฒนาหลักสูตรมัคคุเทศก์น้อยของท้องถิ่น โครงการย่อยที่ 2 โครงการบูรณาการความรู้สู่วิชาชีพพัฒนามัคคุเทศก์น้อย ของท้องถิ่น โดยวิทยากร นายอัศวยุช เทศอาเส็น ผู้รับผิดชอบโครงการ เวลา 10.00 – 12.00 น. ร่วมกันพัฒนาหลักสูตร “มัคคุเทศก์น้อยของท้องถิ่น” โดยวิทยากร นายอัศวยุช เทศอาเส็น ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะ เวลา 12.00 – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน เวลา 13.00 – 16.00 น. ร่วมกันพัฒนาหลักสูตร “การจัดค่ายภาษาอังกฤษสำหรับมัคคุเทศก์น้อย” โดยวิทยากร นายอัศวยุช เทศอาเส็น ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
15 | 0 |
9. โครงการย่อยที่ 3 โครงการพัฒนาทักษะด้านอาชีพให้กับนักเรียนในเขตอุทยานธรณีโลกสตูล กิจกรรมที่ 6 กิจกรรมฝึกอบรม หลักสูตรพัฒนาทักษะด้านอาชีพให้กับนักเรียนในเขตอุทยานธรณีโลกสตูล |
||
วันที่ 21 มิถุนายน 2562กิจกรรมที่ทำวิทยาลัยชุมชนสตูลร่วมกับครูแกนนำโรงเรียนจัดฝึกอบรม โดย ดร.วรรณดี สุธาพาณิชย์ ผู้อำนวยการวิทยาลัยชุมชนสตูล มอบหมายให้ผู้รับผิดชอบดำเนินการ โครงการย่อยที่ 3 โครงการพัฒนาทักษะด้านอาชีพให้กับนักเรียนในเขตอุทยานธรณีโลกสตูล กิจกรรมที่ 6 กิจกรรมฝึกอบรม หลักสูตรพัฒนาทักษะด้านอาชีพให้กับนักเรียนในเขตอุทยานธรณีโลกสตูล จำนวน 7 หลักสูตร คือ หลักสูตรขนมผูกรัก, หลักสูตรขนมแนหรำ, หลักสูตรการทำพวงกุญแจยาง, หลักสูตรขนมลุกชุบ, หลักสูตรผัดไทยชาวเกาะ, หลักสูตรการทำน้ำพริกไตปลาแห้ง, หลักสูตรเบเกอรี่ โดยได้ดำเนินให้กับครูแกนนำและนักเรียนในโรงเรียน จำนวน 11 โรงเรียน โดยจัดการเรียนการสอนในระหว่างวันที่ 21 มิถุนายน 2562 – 27 มิถุนายน 2562 ตั้งแต่เวลา 08.30 – 16.30 น. สอนโดยวิทยากรหลักสูตรฝึกอบรม ซึ่งเป็นผู้ที่มีความสามารถเชี่ยวชาญในการพัฒนาอาชีพ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นวิทยาลัยชุมชนสตูลร่วมกับครูแกนนำโรงเรียนจัดฝึกอบรม โดย ดร.วรรณดี สุธาพาณิชย์ ผู้อำนวยการวิทยาลัยชุมชนสตูล มอบหมายให้ผู้รับผิดชอบดำเนินการ โครงการย่อยที่ 3 โครงการพัฒนาทักษะด้านอาชีพให้กับนักเรียนในเขตอุทยานธรณีโลกสตูล กิจกรรมที่ 6 กิจกรรมฝึกอบรม หลักสูตรพัฒนาทักษะด้านอาชีพให้กับนักเรียนในเขตอุทยานธรณีโลกสตูล จำนวน 7 หลักสูตร ให้กับครูแกนนำและนักเรียนในโรงเรียน จำนวน 11 โรงเรียน เพื่อให้ครูแกนนำแต่ละโรงเรียนมีทักษะในหลักสูตรนั้นๆ และสามารถถ่ายทอดความรู้ให้กับนักเรียนได้ ดังนี้ วันที่ 21 มิถุนายน 2562 อบรมหลักสูตรเบเกอรี่ (เค้กกล้วยหอม,โดนัทเค้ก) วันที่ 21 มิถุนายน 2562 อบรมหลักสูตรการทำพวงกุญแจยาง วันที่ 24 มิถุนายน 2562 อบรมหลักสูตรขนมพื้นบ้าน (ขนมแนหรำงาสมุนไพร) วันที่ 24 มิถุนายน 2562 อบรมหลักสูตรขนมลูกชุบ
ครูแกนนำโรงเรียนบ้านวังประจัน วันที่ 25 มิถุนายน 2562 อบรมหลักสูตรการน้ำพริกไตปลาแห้ง
ครูแกนนำโรงเรียนเกาะสาหร่ายชัยพัฒนา วันที่ 26 มิถุนายน 2562 อบรมหลักสูตรผัดไทยชาวเกาะ
ครูแกนนำโรงเรียนบ้านเกาะยะระโตดนุ้ย วันที่ 27 มิถุนายน 2562 อบรมหลักสูตรขนมผูกรัก ครูแกนนำโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 42 จังหวัดสตูล ฝึกอบรม ณ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 42 จังหวัดสตูล มีครูแกนนำเข้ารับการฝึกอบรม จำนวน 3 คน วิทยากรผู้สอน คือ นางสาวจุฑารัตน์ บิลังโหลด โดยมีค่าใช้จ่ายทั้งหมด 9,200.00 บาท
|
22 | 0 |
10. โครงการย่อยที่ 3 โครงการพัฒนาทักษะด้านอาชีพให้กับนักเรียนในเขตอุทยานธรณีโลกสตูล กิจกรรมที่ 7 กิจกรรม ติดตาม นิเทศแบบกัลยาณมิตรเพื่อพัฒนาสมรรถนะครูในการพัฒนาทักษะด้านอาชีพให้กับนักเรียนในเขตอุทยานธรณีโลกสตูล |
||
วันที่ 24 มิถุนายน 2562กิจกรรมที่ทำวิทยาลัยชุมชนสตูลร่วมกับครูแกนนำโรงเรียนจัดฝึกอบรม โดย ดร.วรรณดี สุธาพาณิชย์ ผู้อำนวยการวิทยาลัยชุมชนสตูล มอบหมายให้ผู้รับผิดชอบดำเนินการ โครงการย่อยที่ 3 โครงการพัฒนาทักษะด้านอาชีพให้กับนักเรียนในเขตอุทยานธรณีโลกสตูล กิจกรรมที่ 7 กิจกรรม ติดตาม นิเทศแบบกัลยาณมิตรเพื่อพัฒนาสมรรถนะครูในการพัฒนาทักษะด้านอาชีพให้กับนักเรียนในเขตอุทยานธรณีโลกสตูล จำนวน 7 หลักสูตร คือ หลักสูตรขนมผูกรัก, หลักสูตรขนมแนหรำ, หลักสูตรการทำพวงกุญแจยาง, หลักสูตรขนมลุกชุบ, หลักสูตรผัดไทยชาวเกาะ, หลักสูตรการทำน้ำพริกไตปลาแห้ง, หลักสูตรเบเกอรี่ โดยได้ดำเนินให้กับครูแกนนำและนักเรียนในโรงเรียน จำนวน 11 โรงเรียน โดยจัดการเรียนการสอนในระหว่างวันที่ 24 มิถุนายน 2562 – 25 กรกฎาคม 2562 ตั้งแต่เวลา 08.30 – 16.30 น. โดยมีการติดตาม นิเทศแบบกัลยาณมิตรเพื่อพัฒนาสมรรถนะครูในการพัฒนาทักษะด้านอาชีพให้กับนักเรียนในเขตอุทยานธรณีโลกสตูลต่อไป ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นวิทยาลัยชุมชนสตูลร่วมกับครูแกนนำโรงเรียนจัดฝึกอบรม โดย ดร.วรรณดี สุธาพาณิชย์ ผู้อำนวยการวิทยาลัยชุมชนสตูล มอบหมายให้ผู้รับผิดชอบดำเนินการ โครงการย่อยที่ 3 โครงการพัฒนาทักษะด้านอาชีพให้กับนักเรียนในเขตอุทยานธรณีโลกสตูล กิจกรรมที่ 7 กิจกรรม ติดตาม นิเทศแบบกัลยาณมิตรเพื่อพัฒนาสมรรถนะครูในการพัฒนาทักษะด้านอาชีพให้กับนักเรียนในเขตอุทยานธรณีโลกสตูล จำนวน 7 หลักสูตร คือ หลักสูตรขนมผูกรัก, หลักสูตรขนมแนหรำ, หลักสูตรการทำพวงกุญแจยาง, หลักสูตรขนมลุกชุบ, หลักสูตรผัดไทยชาวเกาะ, หลักสูตรการทำน้ำพริกไตปลาแห้ง, หลักสูตรเบเกอรี่ โดยได้ดำเนินให้กับครูแกนนำและนักเรียนในโรงเรียน จำนวน 11 โรงเรียน ดังนี้ วันที่ 27 มิถุนายน 2562 เวลา 08.30 – 16.30 น. ฝึกอบรมหลักสูตรการทำน้ำพริกไตปลาแห้ง วันที่ 28 มิถุนายน 2562 เวลา 08.30 – 16.30 น. ฝึกอบรมหลักสูตรผัดไทยชาวเกาะ วันที่ 28 มิถุนายน 2562 เวลา 08.30 – 16.30 น. ฝึกอบรมหลักสูตรขนมลูกชุบ วันที่ 2 กรกฎาคม 2562 เวลา 08.30 – 16.30 น. ฝึกอบรมหลักสูตรเบเกอรี่ โดยมีการฝึกอบรมทำเค้กกล้วยหอมและโดนัทเค้ก วันที่ 5 กรกฎาคม 2562 เวลา 08.30 – 16.30 น. ฝึกอบรมหลักสูตรขนมผูกรัก วันที่ 8 กรกฎาคม 2562 เวลา 08.30 – 16.30 น. ฝึกอบรมหลักสูตรขนมพื้นบ้าน (ขนมแนหรำงาสมุนไพร) วันที่ 9 กรกฎาคม 2562 เวลา 08.30 – 16.30 น. ฝึกอบรมหลักสูตรเบเกอรี่ โดยมีการฝึกอบรมทำเค้กกล้วยหอมและโดนัทเค้ก
ณ โรงเรียนบ้านควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล วันที่ 10 กรกฎาคม 2562 เวลา 08.30 – 16.30 น. ฝึกอบรมหลักสูตรขนมขนมพื้นบ้าน (ขนมแนหรำงาสมุนไพร) วันที่ 24 กรกฎาคม 2562 เวลา 08.30 – 16.30 น. ฝึกอบรมหลักสูตรขนมพื้นบ้าน (ขนมแนหรำงาสมุนไพร) วันที่ 24 กรกฎาคม 2562 เวลา 08.30 – 16.30 น. ฝึกอบรมหลักสูตรการทำพวงกุญแจยาง วันที่ 26 กรกฎาคม 2562 เวลา 08.30 – 16.30 น. ฝึกอบรมหลักสูตรเบเกอรี่ โดยใช้งบประมาณทั้งหมด 44,000 บาท
|
300 | 0 |
11. โครงการย่อยที่ 4 โครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้อุทยานธรณีโลกสตูลในโรงเรียน กิจกรรมที่ 1 การประชุมระดมความคิด ตระหนักในหลักการเป้าหมายและร่วมบูรณาการแผนการดำเนินงานและกลไกการบริหารจัดการโครงการในโรงเรียนที่จะดำเนินการเกี่ยวกับการพัฒนาแหล่งเรียนรู้อุทยานธรณีโล |
||
วันที่ 24 มิถุนายน 2562กิจกรรมที่ทำวิทยาลัยชุมชนสตูลเดินหน้าลุยโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง ในวันที่ 24 มิถุนายน 2562 โดย ดร.วรรณดี สุธาพาณิชย์ ผู้อำนวยการวิทยาลัยชุมชนสตูล ได้มอบหมายให้ ดร.มาณี ฉัตรชัยวงศ์ รองผู้อำนวยการวิทยาลัยชุมชนสตูล และคณะ ลงพื้นที่เพื่อดำเนินโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 โครงการย่อยที่ 4 กิจกรรมย่อย 4.1 โครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้อุทยานธรณีโลกสตูลในโรงเรียน ดำเนินการจัดประชุมระดมความคิด ตระหนักในหลักการเป้าหมาย และร่วมบูรณาการแผนการดำเนินงานและกลไกการบริหารจัดการโครงการในโรงเรียนที่จะดำเนินการเกี่ยวกับการพัฒนาแหล่งเรียนรู้อุทยานธรณีโลกสตูลในโรงเรียน ณ ห้องประชุมชบา วิทยาลัยชุมชนสตูล อ.เมืองสตูล จ.สตูล โดยมีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการจำนวน 3 โรงเรียน สร้างความพึงพอใจให้ผู้บริหารและครูผู้รับผิดชอบเป็นอย่างมาก ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นวิทยาลัยชุมชนสตูลร่วมกับโรงเรียนกลุ่ม พญาบังสา โดย ดร.วรรณดี สุธาพาณิชย์ ผู้อำนวยการวิทยาลัยชุมชนสตูล ได้มอบหมายให้ ดร.มาณี ฉัตรชัยวงศ์ รองผู้อำนวยการวิทยาลัยชุมชนสตูล และคณะ ดำเนินโครงการย่อยที่ 4 โครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้อุทยานธรณีโลกสตูลในโรงเรียน กิจกรรมที่ 1 การประชุมระดมความคิด ตระหนักในหลักการเป้าหมายและร่วมบูรณาการแผนการดำเนินงานและกลไกการบริหารจัดการโครงการในโรงเรียนที่จะดำเนินการเกี่ยวกับการพัฒนาแหล่งเรียนรู้อุทยานธรณีโลกสตูลในโรงเรียน (กลุ่ม 3 กลุ่มทะเล) ในวันที่ 24 มิถุนายน 2562 เวลา 08.30 - 16.30 น. ณ ห้องประชุมชบา วิทยาลัยชุมชนสตูล โดยผู้เข้าร่วม จำนวน 3 โรงเรียน คือ ครูกลุ่มทะเล ประกอบด้วย ครูโรงเรียนบ้านเกาะสาหร่ายชัยพัฒนา, ครูโรงเรียนบ้านตันหยงอุมาชัยพัฒนา, ครูโรงเรียนบ้านยะระโตดนุ้ย มีผู้เข้าร่วมจำนวนทั้งสิ้น 10 คน โดยมีหัวข้อดังนี้ 1.การเก็บข้อมูลด้านแหล่งเรียนรู้
เบื้องต้นได้มีการระดมความคิด แลกเปลี่ยนความรู้ เรื่องแหล่งเรียนรู้ภายในและภายนอกสถานศึกษา จากนั้นทำการคัดแยกประเภทออกเป็นบุคคล สถานที่ จากนั้นได้มอบหมายให้ทุกโรงเรียนดำเนินการจัดกลุ่มนักเรียนเพื่อทำการลงพื้นที่สำรวจร่วมกับครูและบุคคลในชุมชน สำรวจแหล่งเรียนรู้รอบโรงเรียน และรวบรวมข้อมูลตามหัวข้อต่างๆ ระหว่างวันที่ 25 มิ.ย. – 30 ก.ค. 2562 2.รูปแบบการจัดทำเอกสารแหล่งเรียนรู้
3.ปฏิทินการดำเนินการ
4.กำหนดการนิเทศติดตาม
ค่าใช้จ่ายในการดำเนินโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 โครงการย่อยที่ 4 โครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้อุทยานธรณีโลกสตูลในโรงเรียนกิจกรรมที่ 1 การประชุมระดมความคิด ตระหนักในหลักการเป้าหมายและร่วมบูรณาการแผนการดำเนินงานและกลไกการบริหารจัดการโครงการในโรงเรียนที่จะดำเนินการเกี่ยวกับการพัฒนาแหล่งเรียนรู้อุทยานธรณีโลกสตูลในโรงเรียน (กลุ่ม 3) จำนวนเงินทั้งสิ้น 3,000 บาท
|
10 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อสนับสนุนให้สถาบันอุดมศึกษาทำหน้าที่เป็น “พี่เลี้ยง” โดยทำงานร่วมกับโรงเรียน ชุมชน และหน่วยงานในพื้นที่ในการนำองค์ความรู้ ความเชี่ยวชาญ และเทคโนโลยีไปช่วยแก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนในท้องถิ่นให้เกิดความเข้มแข็งและพัฒนาท้องถิ่นได้ตรงตามบริบทของชุมชน ตัวชี้วัด : หลักสูตรมัคคุเทศก์น้อย จำนวน 1 หลักสูตร นักเรียนร่วมกิจกรรมหลักสูตรมัคคุเทศก์น้อย จำนวน 300 คน หลักสูตรทักษะด้านอาชีพ จำนวน 1 หลักสูตร นักเรียนร่วมกิจกรรมหลักสูตรทักษะด้านอาชีพ จำนวน 300 คน มีแหล่งเรียนรู้ใกล้โรงเรียน จำนวน 10 แหล่ง ครูเข้าร่วมกิจกรรมการพัฒนาความสามารถใช้ ICT เพื่อการศึกษา จำนวน 50 คน |
350.00 | |||
2 | เพื่อให้สถาบันอุดมศึกษามีส่วนร่วมในการส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการยกระดับคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานในภาพรวมของประเทศ ตัวชี้วัด : ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนสูงขึ้น ร้อยละ 60 นักเรียนมีทักษะในการพัฒนาตนเองด้านอาชีพมากขึ้น ร้อยละ 60 นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับแหล่งเรียนรู้ใกล้โรงเรียนเพิ่มขึ้น ร้อยละ 60 ครูสามารถนำ ICT มาใช้ในการสอนเพิ่มขึ้น ร้อยละ 60 |
60.00 |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 350 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
จำนวนครูที่เข้าร่วมโครงการ | 50 | ||
จำนวนนักเรียนเป้าหมาย | 300 |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นาย อัศวยุช เทศอาเส็น )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......