directions_run

การบริการวิชาการโดยใช้วิจัยเป็นฐาน เรื่อง การสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ครูประถมศึกษา เพื่อการพัฒนาทักษะการจัดการเรียนรู้ภาษาไทย เพื่อการอ่านออกเขียนได้ และการอ่านเชิงวิเคราะห์ โดยใช้บทอ่านหนังสือของพ่อ (พระบาทสมเด็จพระปรมินทรภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 )

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

เครือข่ายอุดมศึกษา


“ การบริการวิชาการโดยใช้วิจัยเป็นฐาน เรื่อง การสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ครูประถมศึกษา เพื่อการพัฒนาทักษะการจัดการเรียนรู้ภาษาไทย เพื่อการอ่านออกเขียนได้ และการอ่านเชิงวิเคราะห์ โดยใช้บทอ่านหนังสือของพ่อ (พระบาทสมเด็จพระปรมินทรภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ) ”

จังหวัดสงขลาและ จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ การบริการวิชาการโดยใช้วิจัยเป็นฐาน เรื่อง การสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ครูประถมศึกษา เพื่อการพัฒนาทักษะการจัดการเรียนรู้ภาษาไทย เพื่อการอ่านออกเขียนได้ และการอ่านเชิงวิเคราะห์ โดยใช้บทอ่านหนังสือของพ่อ (พระบาทสมเด็จพระปรมินทรภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 )

ที่อยู่ จังหวัดสงขลาและ จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มีนาคม 2562 ถึง


กิตติกรรมประกาศ

"การบริการวิชาการโดยใช้วิจัยเป็นฐาน เรื่อง การสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ครูประถมศึกษา เพื่อการพัฒนาทักษะการจัดการเรียนรู้ภาษาไทย เพื่อการอ่านออกเขียนได้ และการอ่านเชิงวิเคราะห์ โดยใช้บทอ่านหนังสือของพ่อ (พระบาทสมเด็จพระปรมินทรภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ) จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดสงขลาและ จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ เครือข่ายอุดมศึกษา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
การบริการวิชาการโดยใช้วิจัยเป็นฐาน เรื่อง การสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ครูประถมศึกษา เพื่อการพัฒนาทักษะการจัดการเรียนรู้ภาษาไทย เพื่อการอ่านออกเขียนได้ และการอ่านเชิงวิเคราะห์ โดยใช้บทอ่านหนังสือของพ่อ (พระบาทสมเด็จพระปรมินทรภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 )



บทคัดย่อ

โครงการ " การบริการวิชาการโดยใช้วิจัยเป็นฐาน เรื่อง การสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ครูประถมศึกษา เพื่อการพัฒนาทักษะการจัดการเรียนรู้ภาษาไทย เพื่อการอ่านออกเขียนได้ และการอ่านเชิงวิเคราะห์ โดยใช้บทอ่านหนังสือของพ่อ (พระบาทสมเด็จพระปรมินทรภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ) " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดสงขลาและ จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มีนาคม 2562 - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 1,000,000.00 บาท จาก เครือข่ายอุดมศึกษา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การเปลี่ยนแปลงของบริบทโลกในศตวรรษที่ 21 ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงบริบทในสังคมไทย ในทุกๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้าน สังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ การเมือง ตลอดจนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทำให้ต้องมีการเตรียมคนไทยทุกช่วงวัยให้มีทักษะในศตวรรษที่ 21 ซึ่งทักษะในศตวรรษที่ 21 ประกอบด้วย 3R8C (Reading ,wRiting, aRithematic, Critical thinking, Collaboration, Creative thinking and Innovation , Communication ,Computer and media literacy , Cross-cultural Understanding , Career and Learning Skills and Compassion)
ทักษะการอ่านออกเขียนได้ เป็นทักษะหนึ่งที่สำคัญในศตวรรษที่ 21 เป็นทักษะพื้นฐานที่คนไทยทุกคนต้องมี และเป็นทักษะที่สมควรพัฒนาตั้งแต่ระดับประถมศึกษา ดังนั้นการศึกษาระดับประถมศึกษาจำเป็นที่ต้องพัฒนาให้เด็กไทยมีทักษะในการอ่านออกเขียนได้และคิดวิเคราะห์ภาษาไทยได้ตามศักยภาพ ครูนับเป็นบุคลากรที่สำคัญในการพัฒนาทักษะในการอ่านออกเขียนได้โดยเฉพาะครูประถมศึกษา ดังนั้นครูจำเป็นต้องมีทักษะการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้ และควรมีสื่อ นวัตกรรมที่ช่วยส่งเสริมให้นักเรียนระดับประถมศึกษาได้เรียนรู้แล้วเกิดทักษะการอ่านออกเขียนได้ และอ่านเชิงวิเคราะห์ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
การพัฒนาทักษะทักษะการอ่านออกเขียนได้ และอ่านเชิงวิเคราะห์ภาษาไทย ในระดับประถมศึกษาสามารถพัฒนาได้ทั้งในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย และการเรียนรู้ในสาระเพิ่มเติม รวมทั้งสามารถพัฒนาได้ในช่วงเวลาลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ สำหรับในการพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้ และอ่านเชิงวิเคราะห์ภาษาไทยในครั้งนี้ จะใช้สื่อ นวัตกรรมทางภาษาที่เป็นบทอ่านหรือสื่อที่มาจากหนังสือของพ่อ ( พระบาทสมเด็จพระปรมินทรภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ) และจะพัฒนาในช่วงลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ เป็นลักษณะการเรียนปนเล่น โดยใช้วิธีการจัดการเรียนรู้แบบเชิงรุก (Active Learning) ในปีการศึกษา 2562

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาครูให้มีทักษะการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้ และอ่านเชิงวิเคราะห์ภาษาไทยสำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา
  2. เพื่อให้ครูนำนวัตกรรมการเรียนรู้ไปใช้พัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้ และอ่านเชิงวิเคราะห์ภาษาไทย นักเรียนระดับประถมศึกษา โดยใช้กระบวนการ PLC ในการพัฒนา
  3. เพื่อสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมให้แก่นักเรียนระดับประถมศึกษา โดยใช้หนังสือคำสอนของพ่อเป็นสื่อในการสร้างเยาวชนที่ดีสู่สังคม
  4. เพื่อให้ครูมีเจตคติที่ดีในการพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้ และอ่านเชิงวิเคราะห์ภาษาไทยสำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา
  5. เพื่อถ่ายทอดแนวคิดความพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ให้แก่ครูและเยาวชนไทยได้นำมาเป็นแบบอย่างในการดำเนินชีวิตในสังคมที่เปลี่ยนแปลง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. คัดเลือกบทอ่านจากหนังสือคำสอนของพ่อ
  2. การชี้แจงทำความเข้าใจกับผู้บริหารสถานศึกษา
  3. การประชุมทีมวิทยากรเพื่อเตรียมความพร้อมในการดำเนินโครงการฯ
  4. จัดการอบรมการออกแบบการจัดกิจกรรมและสื่อการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้ และอ่านเชิงวิเคราะห์ภาษาไทยสำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา และการวิพากษ์แผนการจัดการเรียนรู้ (โดยใช้กระบวนการ PLC – Plan Do See และ Reflect ทุกขั้นตอน)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนาครูให้มีทักษะการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้ และอ่านเชิงวิเคราะห์ภาษาไทยสำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อให้ครูนำนวัตกรรมการเรียนรู้ไปใช้พัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้ และอ่านเชิงวิเคราะห์ภาษาไทย นักเรียนระดับประถมศึกษา โดยใช้กระบวนการ PLC ในการพัฒนา
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมให้แก่นักเรียนระดับประถมศึกษา โดยใช้หนังสือคำสอนของพ่อเป็นสื่อในการสร้างเยาวชนที่ดีสู่สังคม
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 เพื่อให้ครูมีเจตคติที่ดีในการพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้ และอ่านเชิงวิเคราะห์ภาษาไทยสำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา
ตัวชี้วัด :
0.00

 

5 เพื่อถ่ายทอดแนวคิดความพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ให้แก่ครูและเยาวชนไทยได้นำมาเป็นแบบอย่างในการดำเนินชีวิตในสังคมที่เปลี่ยนแปลง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาครูให้มีทักษะการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้ และอ่านเชิงวิเคราะห์ภาษาไทยสำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา (2) เพื่อให้ครูนำนวัตกรรมการเรียนรู้ไปใช้พัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้ และอ่านเชิงวิเคราะห์ภาษาไทย นักเรียนระดับประถมศึกษา โดยใช้กระบวนการ PLC ในการพัฒนา (3) เพื่อสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมให้แก่นักเรียนระดับประถมศึกษา โดยใช้หนังสือคำสอนของพ่อเป็นสื่อในการสร้างเยาวชนที่ดีสู่สังคม (4) เพื่อให้ครูมีเจตคติที่ดีในการพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้ และอ่านเชิงวิเคราะห์ภาษาไทยสำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา (5) เพื่อถ่ายทอดแนวคิดความพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ให้แก่ครูและเยาวชนไทยได้นำมาเป็นแบบอย่างในการดำเนินชีวิตในสังคมที่เปลี่ยนแปลง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) คัดเลือกบทอ่านจากหนังสือคำสอนของพ่อ (2) การชี้แจงทำความเข้าใจกับผู้บริหารสถานศึกษา (3) การประชุมทีมวิทยากรเพื่อเตรียมความพร้อมในการดำเนินโครงการฯ (4) จัดการอบรมการออกแบบการจัดกิจกรรมและสื่อการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้ และอ่านเชิงวิเคราะห์ภาษาไทยสำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา และการวิพากษ์แผนการจัดการเรียนรู้  (โดยใช้กระบวนการ PLC – Plan Do See และ Reflect ทุกขั้นตอน)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


การบริการวิชาการโดยใช้วิจัยเป็นฐาน เรื่อง การสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ครูประถมศึกษา เพื่อการพัฒนาทักษะการจัดการเรียนรู้ภาษาไทย เพื่อการอ่านออกเขียนได้ และการอ่านเชิงวิเคราะห์ โดยใช้บทอ่านหนังสือของพ่อ (พระบาทสมเด็จพระปรมินทรภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ) จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด