กิจกรรม“นวัตกรรมบัญชีคำพื้นฐาน” ภายใต้โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น โดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง
ชื่อโครงการ | กิจกรรม“นวัตกรรมบัญชีคำพื้นฐาน” ภายใต้โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น โดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง |
ภายใต้องค์กร | เครือข่ายอุดมศึกษา |
รหัสโครงการ | |
วันที่อนุมัติ | 11 เมษายน 2562 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 23 เมษายน 2562 - 25 เมษายน 2562 |
งบประมาณ | 437,000.00 บาท |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี |
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ | |
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ | |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | โรงแรมสยามออเรียลทัล อำเภอหาดใหญ่ |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.9988320558581,100.48101053069place |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
มุ่งเน้นการพัฒนาชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพทั้งภายในและเครือข่ายสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผ่านการสร้างทีมผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาในการขับเคลื่อน จนเกิดรูปแบบหรือนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ของสถานศึกษา รวมไปถึงความเข้มแข็งทางวิชาการของเครือข่ายชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพที่เป็นพื้นที่เรียนรู้และพัฒนาการศึกษาร่วมกัน โดยมีทีมผู้เชี่ยวชาญในมหาวิทยาลัยในพื้นที่เป็นพี่เลี้ยงในการพัฒนาจนเกิดการเปลี่ยนแปลง ทั้งนี้ แนวคิดชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพมีองค์ประกอบสำคัญ ได้แก่ การสร้างความเชื่อมั่นในการขับเคลื่อนองค์กร การสร้างวิสัยทัศน์ และค่านิยมที่มีร่วมกัน รวมถึงการให้ความสำคัญกับภาวะผู้นำแบบกระจายอำนาจ (Distributed leadership) ที่มีส่วนผลักดันการสร้างชุมชนทางวิชาชีพ นอกจากนี้ ยังให้ความสำคัญกับการเรียนรู้ ร่วมกันจากฐานงานจริง รวมถึงแบ่งปันเทคนิคการสอนงานระหว่างกันเน้นการปฏิบัติ การทดลอง และการจัดสภาพแวดล้อมให้เป็นชุมชนการเรียนรู้วิชาชีพ
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี |
---|
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 41 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
ครูผู้สอนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 และ 2 | 41 | - |
- ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำบัญชีคำพื้นฐานตามระดับช่วงชั้น
- จัดทำคู่มือชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
1.มีนวัตกรรมที่สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่ และมุ่งเป้าที่เฉพาะเจาะจงมากขึ้น
2.สถานศึกษานำนวัตกรรม การจัดการเรียนรู้ในระดับขั้นพื้นฐาน นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อการเรียน สมองมีคลังศัพท์เพิ่มขึ้นตามพัฒนาการแต่ละวัย ส่งผลต่อการอ่านออก เขียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 10 พ.ค. 2562 10:33 น.