tune

โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง

stars
1. ชื่อโครงการ
โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง
ควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา
2562
คะแนน:
1
2
3
4
5
stars
2. พื้นที่ดำเนินงาน
จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
สตูล อื่น ๆ
คะแนน:
1
2
3
4
5
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ยังไม่มีรายการความสอดคล้องในระบบ
คะแนน:
1
2
3
4
5
stars
4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด
  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อสนับสนุนให้สถาบันอุดมศึกษาทำหน้าที่เป็น “พี่เลี้ยง” โดยทำงานร่วมกับโรงเรียน ชุมชน และหน่วยงานในพื้นที่ในการนำองค์ความรู้ ความเชี่ยวชาญ และเทคโนโลยีไปช่วยแก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนในท้องถิ่นให้เกิดความเข้มแข็งและพัฒนาท้องถิ่นได้ตรงตามบริบทของชุมชน

 

0.00
2 เพื่อให้สถาบันอุดมศึกษามีส่วนร่วมในการส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการยกระดับคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานในภาพรวมของประเทศ

 

0.00
คะแนน:
1
2
3
4
5
stars
5. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
โรงเรียนในเขตอุทยานธรณีวิทยาโลกสตูล 1,120
คะแนน:
1
2
3
4
5
stars
6. ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2562
30 กันยายน 2562
คะแนน:
1
2
3
4
5
stars
7. วิธีการดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 โครงการบริหารจัดการโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น โดยมีสถาบัน อุดมศึกษา : วิทยาลัยชุมชนสตูลและมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาเป็นพี่เลี้ยงจังหวัดสตูล

ชื่อกิจกรรม
โครงการบริหารจัดการโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น โดยมีสถาบัน อุดมศึกษา : วิทยาลัยชุมชนสตูลและมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาเป็นพี่เลี้ยงจังหวัดสตูล
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อสนับสนุนให้สถาบันอุดมศึกษาทำหน้าที่เป็น “พี่เลี้ยง” โดยทำงานร่วมกับโรงเรียน ชุมชน และหน่วยงานในพื้นที่ในการนำองค์ความรู้ ความเชี่ยวชาญ และเทคโนโลยีไปช่วยแก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนในท้องถิ่นให้เกิดความเข้มแข็งและพัฒนาท้องถิ่นได้ตรงตามบริบทของชุมชน
  2. เพื่อให้สถาบันอุดมศึกษามีส่วนร่วมในการส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการยกระดับคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานในภาพรวมของประเทศ
รายละเอียดกิจกรรม
กิจกรรมที่ 1กิจกรรมศึกษาข้อกำหนดโครงการ นโยบาย หลักการ เป้าหมาย สาระสำคัญของโครงการและศึกษารวบรวม จัดทำฐานข้อมูลที่สำคัญและเกี่ยวข้อง

กิจกรรมที่ 2กิจกรรมประชุมคณะกรรมการดำเนินงาน วางแผน / ปรับแผน ดำเนินงานโครงการ

กิจกรรมที่ 3ประชุมเสริมสร้างความเข้าใจ ตระหนักในหลักการและเป้าหมายร่วมกัน รวมพลังสร้างความเข้มแข็งแก่โรงเรียนเป้าหมาย

3.1ประชุมสร้างความเข้าใจ กำหนดกลไกการดำเนินงานและการประสานงานเพื่อสร้างความเข้มแข็งแก่โรงเรียน

3.2ประชุมระดมความคิด แลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อการพัฒนา คณะพี่เลี้ยงจากสถาบันอุดมศึกษา สถานศึกษา หน่วยงานการศึกษาและเครือข่ายความร่วมมือในพื้นที่

3.3ประชุม พัฒนาสมรรถนะและศักยภาพพี่เลี้ยง: สะท้อนความคิด ผลงาน ปรับกระบวนการ นำสู่การปฏิบัติ มุ่งผลสัมฤทธิ์ของโครงการ

กิจกรรมที่ 4กิจกรรมการติดตาม ประเมินผลเพื่อการพัฒนา การนำแผนสู่การปฏิบัติและการนิเทศอย่างกัลยาณมิตร สร้างพลังและแรงจูงใจ

กิจกรรมที่ 5กิจกรรมประชุมถอดบทเรียน สะท้อนความคิด และสังเคราะห์องค์ความรู้จากการดำเนินงานโครงการ

กิจกรรมที่ 6กิจกรรมสรุปผลโครงการและจัดทำรายงานเผยแพร่

กิจกรรมที่ 7กิจกรรมประสานงานการดำเนินโครงการในโรงเรียนและพื้นที่เป้าหมายที่เกี่ยวข้อง
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
1. ประชุมสร้างความเข้าใจ กำหนดกลไกการดำเนินงานและการประสานงานเพื่อสร้างความเข้มแข็งแก่โรงเรียน
2. ประชุมระดมความคิด แลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อการพัฒนา คณะพี่เลี้ยงจากสถาบันอุดมศึกษา สถานศึกษา หน่วยงานการศึกษาและเครือข่ายความร่วมมือในพื้นที่
3. ประชุม พัฒนาสมรรถนะและศักยภาพพี่เลี้ยง: สะท้อนความคิด ผลงาน ปรับกระบวนการ นำสู่การปฏิบัติ มุ่งผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา

กิจกรรมที่ 2 โครงการบูรณาการความรู้สู่วิชาชีพพัฒนามัคคุเทศก์น้อยของท้องถิ่น

ชื่อกิจกรรม
โครงการบูรณาการความรู้สู่วิชาชีพพัฒนามัคคุเทศก์น้อยของท้องถิ่น
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อสนับสนุนให้สถาบันอุดมศึกษาทำหน้าที่เป็น “พี่เลี้ยง” โดยทำงานร่วมกับโรงเรียน ชุมชน และหน่วยงานในพื้นที่ในการนำองค์ความรู้ ความเชี่ยวชาญ และเทคโนโลยีไปช่วยแก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนในท้องถิ่นให้เกิดความเข้มแข็งและพัฒนาท้องถิ่นได้ตรงตามบริบทของชุมชน
  2. เพื่อให้สถาบันอุดมศึกษามีส่วนร่วมในการส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการยกระดับคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานในภาพรวมของประเทศ
รายละเอียดกิจกรรม
กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมประชุมระดมความคิด ตระหนักในหลักการ เป้าหมาย และร่วมบูรณาการ แผนการ ดำเนินงานและกลไกการบริหารจัดการโครงการในโรงเรียนที่ดำเนินการที่ผ่านมา

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมประชุมระดมความคิด ตระหนักในหลักการ เป้าหมาย และร่วมบูรณาการ แผนการ ดำเนินงานและกลไก การบริหารจัดการโครงการในโรงเรียนที่ดำเนินการใหม่

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมสำรวจคุณลักษณะมัคคุเทศก์น้อยที่ชุมชนต้องการ พื้นที่ท่องเที่ยวของชุมชน และข้อมูลที่เกี่ยวข้อง

กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อการพัฒนาสาระ หลักสูตรและแผนการจัดการเรียนการสอน ภาษาอังกฤษเพื่อการเรียนรู้สู่อาชีพ มัคคุเทศก์น้อยของชุมชน

กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมค่ายมัคคุเทศก์น้อยของชุมชน

กิจกรรมที่ 6 กิจกรรมร่วมวิพากษ์หลักสูตรฝึกอบรมและแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อการพัฒนา

กิจกรรมที่ 7 กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษมัคคุเทศก์น้อย

กิจกรรมที่ 8 กิจกรรม ติดตาม นิเทศแบบกัลยาณมิตรเพื่อพัฒนาสมรรถนะครูในการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษและสร้างความพร้อมของบุคลากร สื่อ อุปกรณ์ เอกสารฝึกอบรมและแบบวัดและประเมินผลของค่ายฝึกอบรม

กิจกรรมที่ 9 กิจกรรมจัดค่ายฝึกอบรม

กิจกรรมที่ 10 กิจกรรมประชุมสะท้อนประสบการณ์ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถอดบทเรียนและสังเคราะห์องค์ความรู้

กิจกรรมที่ 11 กิจกรรมสรุปผล ประเมินผล จัดทำเอกสาร รายงานโครงการ
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
จำนวนมัคคุเทศก์น้อยของท้องถิ่น
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา

กิจกรรมที่ 3 3 โครงการพัฒนาทักษะด้านอาชีพให้กับนักเรียนในเขตอุทยานธรณีโลกสตูล

ชื่อกิจกรรม
3 โครงการพัฒนาทักษะด้านอาชีพให้กับนักเรียนในเขตอุทยานธรณีโลกสตูล
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อสนับสนุนให้สถาบันอุดมศึกษาทำหน้าที่เป็น “พี่เลี้ยง” โดยทำงานร่วมกับโรงเรียน ชุมชน และหน่วยงานในพื้นที่ในการนำองค์ความรู้ ความเชี่ยวชาญ และเทคโนโลยีไปช่วยแก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนในท้องถิ่นให้เกิดความเข้มแข็งและพัฒนาท้องถิ่นได้ตรงตามบริบทของชุมชน
  2. เพื่อให้สถาบันอุดมศึกษามีส่วนร่วมในการส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการยกระดับคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานในภาพรวมของประเทศ
รายละเอียดกิจกรรม
กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมประชุมระดมความคิด ตระหนักในหลักการ เป้าหมาย และร่วมบูรณาการ แผนการ ดำเนินงานและกลไก การบริหารจัดการโครงการในโรงเรียนที่จะดำเนินการ

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมสำรวจอาชีพที่ชุมชนต้องการ ในพื้นที่อุทยานธรณีโลกสตูล ที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวของชุมชน และข้อมูลที่เกี่ยวข้อง

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อการพัฒนาสาระ หลักสูตรและแผนการจัดการเรียนการสอน พัฒนาทักษะด้านอาชีพให้กับนักเรียนในเขตอุทยานธรณีโลกสตูล

กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตรพัฒนาทักษะด้านอาชีพให้กับนักเรียนในเขตอุทยานธรณีโลกสตูล

กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมร่วมวิพากษ์หลักสูตรฝึกอบรมและแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อการพัฒนา

กิจกรรมที่ 6 กิจกรรมฝึกอบรม หลักสูตรพัฒนาทักษะด้านอาชีพให้กับนักเรียนในเขตอุทยานธรณีโลกสตูล

กิจกรรมที่ 7 กิจกรรม ติดตาม นิเทศแบบกัลยาณมิตรเพื่อพัฒนาสมรรถนะครูในการพัฒนาทักษะด้านอาชีพให้กับนักเรียนในเขตอุทยานธรณีโลกสตูล

กิจกรรมที่ 8 กิจกรรมประชุมสะท้อนประสบการณ์ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถอดบทเรียนและสังเคราะห์องค์ความรู้

กิจกรรมที่ 9 กิจกรรมสรุปผล ประเมินผล จัดทำเอกสาร รายงานโครงการ
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
จำนวนนักเรียนที่เข้าร่วมการพัฒนาทักษะด้านอาชีพ
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา

กิจกรรมที่ 4 โครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้อุทยานธรณีโลกสตูลในโรงเรียน

ชื่อกิจกรรม
โครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้อุทยานธรณีโลกสตูลในโรงเรียน
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อสนับสนุนให้สถาบันอุดมศึกษาทำหน้าที่เป็น “พี่เลี้ยง” โดยทำงานร่วมกับโรงเรียน ชุมชน และหน่วยงานในพื้นที่ในการนำองค์ความรู้ ความเชี่ยวชาญ และเทคโนโลยีไปช่วยแก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนในท้องถิ่นให้เกิดความเข้มแข็งและพัฒนาท้องถิ่นได้ตรงตามบริบทของชุมชน
  2. เพื่อให้สถาบันอุดมศึกษามีส่วนร่วมในการส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการยกระดับคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานในภาพรวมของประเทศ
รายละเอียดกิจกรรม
กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมประชุมระดมความคิด ตระหนักในหลักการ เป้าหมาย และร่วมบูรณาการ แผนการ ดำเนินงานและกลไก การบริหารจัดการโครงการในโรงเรียนที่จะดำเนินการเกี่ยวกับการพัฒนาแหล่งเรียนรู้อุทยานธรณีโลกสตูลในโรงเรียน

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมสำรวจแหล่งเรียนรู้อุทยานธรณีโลกสตูลที่มีอยู่ในพื้นที่

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมดำเนินการพัฒนาแหล่งเรียนรู้อุทยานธรณีโลกสตูลในโรงเรียน

กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมติดตามผลการนำแหล่งเรียนรู้อุทยานธรณีโลกสตูลในโรงเรียนไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
จำนวนแหล่งเรียนรู้อุทยานธรณีโลกสตูลในโรงเรียน
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา

กิจกรรมที่ 5 โครงการพัฒนาทักษะการใช้ ICT เพื่อการศึกษาของครู

ชื่อกิจกรรม
โครงการพัฒนาทักษะการใช้ ICT เพื่อการศึกษาของครู
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อสนับสนุนให้สถาบันอุดมศึกษาทำหน้าที่เป็น “พี่เลี้ยง” โดยทำงานร่วมกับโรงเรียน ชุมชน และหน่วยงานในพื้นที่ในการนำองค์ความรู้ ความเชี่ยวชาญ และเทคโนโลยีไปช่วยแก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนในท้องถิ่นให้เกิดความเข้มแข็งและพัฒนาท้องถิ่นได้ตรงตามบริบทของชุมชน
  2. เพื่อให้สถาบันอุดมศึกษามีส่วนร่วมในการส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการยกระดับคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานในภาพรวมของประเทศ
รายละเอียดกิจกรรม
กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมประชุม อบรมพัฒนาทักษะการใช้ ICT เพื่อการศึกษา

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมติดตามผลการนำ ICT ไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนและการบริหารจัดการ
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
จำนวนครูเข้ารับการพัฒนาทักษะการใช้ ICT
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
คะแนน:
1
2
3
4
5
stars
8. งบประมาณโครงการ
จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 300,000.00 บาท
คะแนน:
1
2
3
4
5
stars
9. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง
คะแนน:
1
2
3
4
5
stars
10. เอกสารประกอบโครงการ
คะแนน:
1
2
3
4
5